Page 173 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 173
481
ความปวดที่อาศัยร่างกาย ก็เกิดบริเวณส่วนหนึ่งของร่างกาย เกิดในที่ว่าง ๆ ก็เอาใจที่ว่างนี่แหละ เปน็ ผทู้ า หนา้ ทรี่ ู้ ถา้ จติ เรามกี า ลงั เรากร็ วู้ า่ ดสู วิ า่ ความปวดนเี้ ปลยี่ นแปลงเกดิ แลว้ ดบั อยา่ งไร ในความปวด นั้นมีอาการเกิดดับไหม ถ้าในความปวดนั้น มีอาการยุบยับ ๆ เกิดขึ้นภายใน รอบ ๆ ปวดมาก แต่ข้างในมี การยุบยับ วุบวับอยู่ แต่อาการวุบวับ ไม่ได้บอกถึงความปวด ความปวดอยู่รอบ ๆ อันนี้อย่างหนึ่ง เมื่อ เห็นแบบนี้ ให้สนใจอาการวุบวับภายใน ตรงนั้นเขาเรียกอาการเกิดดับ ตรงนั้นเขาเรียกความเป็น อนิจจลักษณะ หรือความเป็นอนิจจัง ความไม่เที่ยง นั่นคือความเปลี่ยนแปลงของเวทนา
เพราะฉะนนั้ ความปวดกไ็ มใ่ ชข่ องเรา ความปวดกเ็ กดิ ขนึ้ ตามหนา้ ที่ ตามเหตปุ จั จยั ของตน ของตน เมื่อจิตแยกจากความปวดแล้ว สังเกตว่าความปวดเกิดดับอย่างไร อันนี้เราพิจารณาสัจธรรม เราพิจารณา สัจธรรมอะไร เราพิจารณาคาสอนของพระพุทธเจ้า ที่พระองค์ตรัสว่า เวทนาไม่เที่ยง เวทนาไม่เที่ยง เป็น ทุกข์ เป็นอนัตตา ไม่เที่ยงคือ มีการแปรปรวนเปลี่ยนแปลงอยู่เรื่อย ๆ เดี๋ยวปวดมาก ปวดน้อย เดี๋ยวเลื่อน ไป เลื่อนมา เดี๋ยวเป็นจุด แปล๊บหาย เดี๋ยวขยายกระจายออกไป นั่นก็คือความไม่เที่ยงของความปวด
แลว้ เปน็ ทกุ ขเ์ ปน็ อยา่ งไร ตรงนที้ บี่ อกวา่ เปน็ ทกุ ขลกั ษณะ ทกุ ขลกั ษณะคอื เกดิ แลว้ ดบั ไป เกดิ แลว้ ดับ เดี๋ยวเปลี่ยน เกิดแล้วสักพักก็ดับไป เกิดใหม่ขึ้นมาก็ดับไป ตรงนี้คือเขาเรียกว่า ทุกขลักษณะ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา อนัตตาเป็นอย่างไร คือเราบังคับให้หยุดตอนนี้ก็ไม่ได้ บังคับไม่ให้เกิดขึ้นก็ไม่ได้ เกิดขึ้นแล้วบังคับไม่ให้ดับก็ไม่ได้ นั่นคือเป็นอารมณ์ เป็นอนัตตาอย่างหนึ่ง
ในความหมายทบี่ อกวา่ เมอื่ เกดิ ขนึ้ แลว้ อารมณเ์ หลา่ นนั้ เปน็ ไปตามเหตปุ จั จยั ของตน บงั คบั บญั ชา ไม่ได้ เพราะบังคับเมื่อไหร่ ก็เหนื่อย พอบังคับไม่ได้ แล้วเป็นทุกข์ใจ เพราะฉะนั้น จาเป็นต้องบังคับไหม ถ้าเป็นแบบนั้นไม่ต้องบังคับ เราจะได้ไม่ต้องบังคับ ว่าต้องเป็นอย่างนั้น ต้องเป็นอย่างนี้ แล้วทาอย่างไรดี ที่สุด และสภาวธรรมอันนี้ ปรากฏขึ้นมาบังคับไม่ได้ ก็บอกว่าเขาเป็นอนัตตา ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่ของเรา ไม่ ได้อยู่ในอานาจของใคร และเกิดขึ้นมาทาหน้าที่อย่างนั้น จะเรียกว่าเวทนาขันธ์
เวทนาของขันธ์ที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นอยู่ เป็นเวทนา ก็เป็นอารมณ์อย่างหนึ่ง เป็นสภาวธรรมอย่าง หนึ่งที่เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าพระองค์ก็ตรัส เวทนาเป็นอนัตตา คือไม่มีตัวตน ไม่มีความเป็นเรา ไม่ได้บอกว่าเป็นเรา เป็นเขา เป็นใคร เป็นแต่สภาวธรรมที่กาลังปรากฏ เป็นไปตามเหตุปัจจัยของตน ทาอย่างไร จิตจะไม่เศร้าหมองกับเวทนาทางกาย ตรงนี้แหละ เวทนาทางกาย ความเจ็บปวด ความเมื่อย ทางกาย ความเจ็บปวดต่าง ๆ ทางกาย ไม่ได้ทาให้เราตกนรก
แตค่ วามขนุ่ มวั ความวนุ่ วายทางจติ ใจ ความหอ่ เหยี่ ว ความขนุ่ มวั ความเศรา้ หมองนนั่ แหละ จติ ไป... ไมม่ ที อี่ ยู่ ไมม่ ที อี่ าศยั ไมม่ ที เี่ กาะ จงึ เขา้ ไปยดึ ยดึ ไมไ่ ดก้ เ็ กดิ ความทกุ ข์ ความหดหู่ ความขนุ่ มวั เศรา้ หมอง เกิดกิเลสขึ้นมา มีโทสะเกิดขึ้น หงุดหงิดราคาญ ความคิดตรงนั้น เขาเรียกเป็นมโนกรรม ผ่านไป คิดไป ในเรื่องไม่ดี ก็กลายเป็นมโนกรรม ทาให้จิต...ถ้าคิดถึงเรื่องดีก็เป็นมโนกรรม เขาเรียกกุศลมโนกรรม เพราะฉะนั้น ทาอย่างไรถึงจะคิดถึงเรื่องดีได้ คนเราจะคิดถึงเรื่องดีได้ยาก ถ้าหากถูกบีบคั้นด้วยเวทนา อย่างแรงกล้า