Page 177 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 177

485
แค่สนใจถึงความเป็นจริง สนใจถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป อยู่เรื่อย ๆ อยู่เนือง ๆ ตรงนั้นเขาเรียก กลาย เป็นความเพียร แสดงว่าเรารู้ว่า สิ่งที่จะทาให้ดับทุกข์ได้จริง ก็คืออารมณ์ปัจจุบัน การมีสติรู้ถึงสัจธรรม ที่ กาลังปรากฏเกิดขึ้น ณ ปัจจุบัน ณ ขณะนี้ เดี๋ยวนี้ ไม่ว่าจะเป็นรูป เสียง กลิ่น รส เวทนา ความคิด เกิดขึ้น มาก็รู้ถึงการ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป
เพราะฉะนั้นลองสังเกตดูว่า ขณะนี้ ขณะที่เราฟังธรรม แล้วก็ปฏิบัติธรรมไปด้วย จิตใจรู้สึกเป็น อย่างไร มีความนิ่ง มีความสงบ มีความตั้งมั่น มีความผ่องใส ยิ่งเห็นความเป็นจริงด้วยแล้ว เห็นถึงความ เป็นคนละส่วน ระหว่างจิตกับกายที่นั่งอยู่ เห็นความเป็นคนละส่วน ระหว่างจิตที่ทาหน้าที่รับรู้กับเสียงที่ ได้ยิน เห็นความเป็นจริง ระหว่างความเย็นที่เกิด ที่เข้ามากระทบกับจิตที่ทาหน้าที่รู้ แล้วจิตใจเป็นอย่างไร
อีกจุดหนึ่ง ยิ่งเราใส่ใจถึงอาการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ด้วยแล้ว ลองสังเกตดู มีอะไรที่ทา ที่บอก เราว่า เราไปยึดได้ มีอะไรบ้างที่เป็นของเที่ยง รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่เกิดขึ้น อารมณ์ไหน ที่เป็น ของเที่ยง เกิดขึ้นและตั้งอยู่อย่างนี้ตลอดเวลา แม้แต่เวทนา ความปวด อาการเมื่อย อาการชา...เอง แม้แต่ ความคิด ที่เราเคยรู้สึกว่ารบกวนเราตลอดเวลา ลองสังเกตดูว่า มีอาการอะไร ที่เป็นอยู่อย่างนั้นตลอดเวลา เขาสามารถอยู่อย่างนั้นได้ไหม หรือมีแต่การเปลี่ยนไป เกิดขึ้นมาดับไป เปลี่ยนอันใหม่ไปเรื่อย เปลี่ยนอยู่ อย่างนั้นแหละ
ถ้าเขาเปลี่ยนอยู่อย่างนั้น แล้วทาอย่างไร ควรจะเดือดร้อนกับเขาไหม หรือควรทาใจให้สงบ ทา จิตของเราให้แยกส่วนกันกับอารมณ์อันนั้น นั่นคือสิ่งที่เราทาได้ ที่สามารถทาได้ ควบคุมจัดการกับตัวเอง กับจิตของตัวเอง จิตที่ทาหน้าที่รู้นี่แหละ รู้ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีตัวตน รู้ถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป นี่คือ เป็นการรู้ถึงสัจธรรม และการที่จะทาให้สติเรามีกาลังมากขึ้น สภาวธรรมเราก้าวหน้าขึ้น ก็คือการจดจ่อ หรือใส่ใจถึงลักษณะ ความต่างไป ความต่างไป ความเปลี่ยนไปของอาการเกิดดับ
ไมว่ า่ จะเปน็ อาการภายในกาย แมแ้ ตต่ วั สภาพจติ เอง ความใส ความสงบทเี่ กดิ ขนึ้ เขา้ ไปรแู้ ลว้ ความ ใสเปลี่ยนอย่างไร ความสงบเป็นอย่างไร อาการเกิดดับที่เกิดในความสงบ เปลี่ยนแปลงอย่างไร เกิดดับ ต่างจากเดิมอย่างไร การที่จะเห็นชัด ก็คือการใส่ใจเข้าไปในอาการ หรือเข้าไปที่อาการนั้นให้ต่อเนื่อง เข้าไป เรื่อย ๆ ให้ต่อเนื่องอยู่เนือง ๆ ให้จบ ตรงนั้นแหละ ก็จะทาให้การปฏิบัติเราก้าวหน้าขึ้น และเราก็สังเกตถึง ผลของการปฏิบัติ ของการตามรู้ สังเกตถึงผลที่ตามมา จากที่เราสนใจ ใส่ใจ เข้าไปกาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป อยู่เรื่อย ๆ จนอาการนั้นสิ้นสุดลง
ผลทตี่ ามมา จติ ใจรสู้ กึ อยา่ งไร มคี วามตนื่ ตวั ขนึ้ มคี วามตงั้ มนั่ ขนึ้ มคี วามเบาขนึ้ มคี วามนงิ่ ขนึ้ หรอื พออาการนั้นสิ้นสุดลง จิตสงบเงียบไป ว่างไป หรือว่าทาให้จิตใจสว่างขึ้นกว่าเดิม ให้พิจารณาในลักษณะ อย่างนี้
ตอ่ ไปอาจารยจ์ ะไมใ่ ชเ่ สยี ง ใหเ้ ราปฏบิ ตั ิ พจิ ารณาอยสู่ กั ระยะ จากนนั้ คอ่ ยแผเ่ มตตากนั ใชเ้ วลาสกั นิดหนึ่ง พิจารณาสภาวธรรมไป ไม่ว่าจะเป็นสภาพจิต เคยเห็นจิตเปลี่ยน แล้วสว่างขึ้น เบาขึ้น ก็ดูจิตใจ


































































































   175   176   177   178   179