Page 180 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 180
488
เม่ือโยคีผู้ปฏิบัติมีเจตนาท่ีจะเข้าไปกาหนดรู้ ถึงอาการเกิดดับของอารมณ์น้ัน ๆ อาการน้ัน ๆ มี เจตนาท่ีจะเข้าไปกาหนดรู้ ถึงการเปล่ียนแปลง ถึงการเกิดข้ึน ต้ังอยู่ ดับไปของอารมณ์อันน้ัน ของอารมณ์ น้ัน ๆ น่ีคือการเจตนา...เป็นการยกจิตข้ึนสู่วิปัสสนา ๆ ตรงนี้เรียกว่าอะไร เป็นกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ตามรู้อาการทางกายท่ีเกิดข้ึน ตามรู้อาการทางกายท่ีกาลังปรากฏเกิดข้ึนอยู่ อาการทางกายตรงน้ี จะเป็น อารมณ์ปัจจุบันท่ีกาลังปรากฏเกิดข้ึนอยู่เฉพาะหน้า ณ ขณะท่ีโยคีกาลังเจริญสติอยู่ ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถ นั่ง อิริยาบถเดิน อิริยาบถยืน หรืออยู่ในอิริยาบถนอนก็ตาม
เพราะฉะน้ัน อาการทางกายอย่างใดอย่างหน่ึงปรากฏข้ึนมา หน้าท่ีของผู้ปฏิบัติ ก็ให้มีเจตนาตาม กา หนดรู้ ถงึ อาการเกดิ ขนึ้ ตงั้ อยู่ ดบั ไป หรอื เรยี กอกี อยา่ งหนงึ่ วา่ เปน็ การเขา้ ไปตามกา หนดรถู้ งึ อาการพระ ไตรลักษณ์ ความเป็นอนิจจัง อนิจจลักษณะ ทุกขลักษณะ และอนัตตลักษณะ ลักษณะของความไม่เที่ยง ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เนือง ๆ เปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ นะ ลักษณะของความเป็นทุกข์ เกิดแล้วดับไป มี แล้วหมดไป มีแล้วหายไป ไม่สามารถตั้งอยู่อย่างนั้นได้ตลอด ลักษณะของความเป็นอนัตตา ไม่สามารถ บังคับบัญชาให้เป็นอย่างที่ปรารถนาเสมอไปได้
ลักษณะอนัตตาตรงนี้มี ๒ อย่าง ก็คือความไม่มีตัวตน ความไม่เป็นเรา ความไม่เป็นเขา มีแต่สติ สมาธิ และปัญญา ตามกาหนดรู้พิจารณาถึงสภาวธรรมที่กาลังปรากฏ ณ ปัจจุบัน ณ ขณะนั้น ๆ ว่ามีการ เปลี่ยนแปลงอย่างไร อันนี้คืออาการทางกายที่เกิดขึ้น ถ้าตามรู้อาการทางกายแบบนี้ เรียกว่ากายานุปัสสนา สตปิ ฏั ฐาน อาการทางกายทพี่ ดู ถงึ นะ มนั เหมอื นกบั เปน็ อาการอยใู่ นอริ ยิ าบถไหน อยา่ งทบี่ อกแลว้ จะยนื จะ เดิน จะนั่ง จะนอนนะ
จะยืน จะเดิน จะนั่ง หรือนอนก็ตาม ถ้ามีอาการทางกายเกิดขึ้นมา อาการเกิดดับ การเปลี่ยนแปลง อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ปรากฏขนึ้ มา ผปู้ ฏบิ ตั กิ ใ็ หม้ สี ตเิ ขา้ ไปตามกา หนดรู้ อาการทกี่ า ลงั ปรากฏขนึ้ มานนั้ วา่ เปน็ ไปในลักษณะอย่างไร อีกอย่างหนึ่ง การที่มีสติตามกาหนดรู้อาการทางกาย ๆ เป็นลักษณะของความเย็น ความร้อน อาการเคร่งตึง ความหนัก ความเบาที่เกิดขึ้น ซึ่งเรียกว่าอาการของธาตุ ๔
อาการของธาตุ ๔ กเ็ ปน็ อาการทางกาย เปน็ อาการของรปู อยา่ งหนงึ่ เพราะฉะนนั้ เมอื่ มอี าการ มคี วาม เย็น ความร้อนเกิดขึ้น ก็สามารถเอามาเป็นอารมณ์กรรมฐาน เอามาเป็นอารมณ์วิปัสสนา สามารถยกจิตขึ้น สู่วิปัสสนาได้ คือการใส่ใจเข้าไปกาหนดรู้ถึงความเย็น ความร้อน อาการเคร่งตึง ความหนัก ความเบานั้น ว่ามีการเปลี่ยนแปลง หรือเกิดดับอย่างไร
เพราะฉะนั้น จะเห็นว่าหลักของการเจริญวิปัสสนานั้น มีเจตนาที่จะรู้ถึงกฎไตรลักษณ์ รู้ถึงความ เปลี่ยนแปลงของอารมณ์ ที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นอาการทางกาย อย่างที่กล่าวมาแล้ว ไม่ว่าจะ เป็นลมหายใจ เป็นอาการเคร่งตึง ความหนัก ความเบา อาการเต้นของหัวใจ อาการกระเพื่อมไหว อาการ กระตุกตามร่างกาย หรืออาการชีพจรที่เกิดขึ้น นั่นก็คืออาการทางกาย เพราะฉะนั้น อารมณ์ที่เกิดอาการ ทางกายที่เกิดขึ้นเหล่านั้น ก็จะเป็นอารมณ์วิปัสสนาได้ เมื่อโยคีมีเจตนาที่จะเข้าไปกาหนดรู้ ถึงอาการเกิด ดับของเวทนานั้น มีเจตนาที่จะเข้าไปกาหนดรู้ ถึงอาการเกิดดับของอารมณ์นั้น ๆ