Page 32 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 32

26
นั่นเป็นสภาวธรรมที่บอกเราว่า อารมณ์ปัจจุบันนั้น เมื่อกาหนดไปแล้ว สามารถเปลี่ยนจากอารมณห์ นงึ่ ไปสอู่ กี อารมณห์ นงึ่ ได้ แตอ่ ารมณไ์ หนชดั นั่นก็คืออารมณ์ปัจจุบัน เพราะฉะนั้น การเจริญสติ การเจริญกรรมฐาน เพอื่ ใหจ้ ติ ใจเรามกี า ลงั มคี วามตงั้ มนั่ สตแิ กก่ ลา้ ขนึ้ ทา่ นจงึ ใหเ้ รากา หนดรู้ อารมณ์ปัจจุบันที่เป็นปัจจุบันขณะ ที่กาลังปรากฏเกดิ ข้ึนเฉพาะหน้าจริง ๆ เพราะฉะนั้น ทุกครั้งที่เราเริ่มนั่งกรรมฐาน เริ่มนั่งสมาธิ ก็ให้ทาใจให้สบาย ๆ ไม่ต้องเครียด ไม่ต้องไปกังวลว่าวันนี้จิตจะสงบไหม จะปฏิบัติได้ไหม หรือไม่ต้องไปกังวลว่า วันนี้ทั้งวันเลย เหนื่อย มีภาระ มีหน้าที่ต้องทา เยอะแยะ พอจะนั่งแล้วยังมีความคิดเกิดขึ้นอยู่ กลัวความคิดรบกวน ไม่สามารถนั่งกรรมฐาน/นั่งสมาธิทาจิตให้สงบได้ สิ่งเหล่านี้ไม่ต้องกังวล ถา้ เราจะนงั่ กรรมฐาน ไมต่ อ้ งไปกงั วลวา่ จะไมส่ งบ เพราะความคดิ เองกเ็ ปน็ สภาวธรรมอย่างหนึ่ง อย่างที่บอกแล้วว่า เวลาเรานั่งกรรมฐาน นั่งสมาธิ นอกจากอารมณ์ที่พูดมา คืออาการพองยุบหรือลมหายใจเข้า-ออกแล้ว ก็จะมีความคิดนี่แหละที่เหมือนเป็นอุปสรรคใหญ่สาหรับผู้อยาก ปฏิบัติธรรม อยากทาจิตให้สงบ พอเริ่มนั่งกรรมฐาน/นั่งสมาธิ ความคิดก็ เข้ามาเยอะแยะมากมายหลายเรื่อง... แต่เขาก็คือความคิด
เพราะฉะนั้น วิธีการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ก่อนอื่นเราต้องทาความ เขา้ ใจอกี นดิ หนงึ่ วา่ ความคดิ นนั้ กเ็ ปน็ อารมณก์ รรมฐานอยา่ งหนงึ่ หมายถงึ ว่าความคิดก็เป็นอารมณ์กรรมฐานเหมือนกับอาการพองยุบ เหมือนกับ อาการของลมหายใจเข้า-ออกนั่นแหละ เพราะฉะนั้น เมื่อมีความคิด เกิดขึ้นมา เราจะทาอย่างไร ? วิธีต่อสู้กับความคิด ให้สังเกตแบบนี้ เมื่อมี ความคิดเกิดขึ้นมา อย่าเพิ่งไปกังวล ไม่ต้องกลัว ตั้งสติดี ๆ นิ่ง ๆ แล้ว ดูซิว่า ความคิดที่กาลังเกิดขึ้นมานั้น มีการเกิดดับอย่างไร มีแล้วหมดไป
































































































   30   31   32   33   34