Page 34 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 34
28
ทีนี้นอกจากการพิจารณาถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไปของ ความคิดแล้ว อีกจุดหนึ่งที่พึงสังเกตเพื่อไม่ให้คล้อยตามความคิดก็คือว่า ขณะทคี่ วามคดิ เปลยี่ นไป ๆ แลว้ เรากเ็ ปน็ ผดู้ คู วามคดิ อยู่ ลองสงั เกตดวู า่ เราทนี่ งั่ ดอู ยนู่ /ี้ จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ ู้ กบั ความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ เขาเปน็ สว่ นเดยี วกนั หรือคนละส่วนกัน เหมือนกับการสังเกตอาการพองยุบนั่นแหละ จิตที่ทา หนา้ ทตี่ ามรอู้ าการพองยบุ กบั พองยบุ เปน็ สว่ นเดยี วกนั ไหม จติ ทที่ า หนา้ ที่ ตามรู้ลมหายใจเข้า-ออก กับ ลมหายใจเข้า-ออก เป็นส่วนเดียวกันหรือ แยกส่วนกัน แล้ว จิตที่ทาหน้าที่รู้เรื่องที่คิด กับ ความคิด/เรื่องที่คิด เขา เป็นส่วนเดียวกันไหม ในขณะที่ความคิดเขาเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ จิตดวงนี้ก็นิ่ง ตามรู้อยู่ด้วยสติสัมปชัญญะ คือรู้ชัด คาว่า “สติสัมปชัญญะ” มีสติ มีจิต ตั้งมั่น และรู้ชัดในอาการที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นอยู่ เมื่อเราเห็นถึงความ เป็นคนละส่วนระหว่าง ความคิด/เรื่องที่คิด กับ จิตที่ทาหน้าที่รู้/เราที่เป็น ผู้ดูอยู่ เราจะได้พิจารณาต่อไปว่า แล้วความคิดนั้นบอกว่าเป็นเราไหม เป็นของเราหรือเปล่า หรือเราก็เป็นผู้ดูอยู่/เป็นเพียงแค่จิตที่ทาหน้าที่รู้อยู่ ความคิดก็เกิดขึ้นไปทาหน้าที่ของตนเองไป เมื่อเห็นอย่างนี้แล้วควรจะ ยึดเอาความคิดนั้นมาเป็นของเราไหม ? ใครที่เห็นว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้ กับ ความคิด เป็นคนละส่วนกันแล้ว ไม่ใช่แค่รู้ว่าเป็นคนละส่วน ลองสังเกต ให้ดี ขณะนั้นจิตที่ทาหน้าที่รู้เขาวุ่นวายตามไหม หรือนิ่ง ๆ หรือตั้งมั่นอยู่ ? อันนี้อย่างหนึ่ง
พอสังเกตเห็นแบบน้ีแล้ว ทาอย่างไร สติของเราหรือจิตของเรา จะมีกาลังมากกว่าความคิด ? คราวที่แล้วบอกว่า พอเราเห็นถึงความเป็น คนละส่วนระหว่าง จิต กับ กาย เราทาจิตที่ว่างที่เบาแล้วให้กว้างกว่าตัว อันนี้ก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีความคิดเกิดขึ้นมา เห็น ความคิด กับ จิตที่ทา