Page 35 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 35
หน้าที่รู้ เป็นคนละส่วนกัน ทาจิตที่ทาหน้าที่รู้ให้กว้างกว่าตัว ให้กว้างกว่า ตัวเองก่อน จากนั้นก็ค่อยให้กว้างออกไป ให้กว้างกว่าเรื่องที่คิด/มโนภาพ ทเี่กิดขนึ้เพราะเวลาคนเราคดิกจ็ะมมีโนภาพในเรอื่งนนั้ๆเกดิขนึ้มาการ ทาอย่างนี้เพื่อทาให้จิตคลายอุปาทาน จิตจะเบา จะโล่ง จะโปร่ง หรือสงบ มากขึ้น ไม่ถูกความคิดนั้นบีบคั้นจิตใจให้เกิดความทุกข์เกิดความอึดอัด ตรงนี้คือวิธีการแก้เวทนาที่เกิดจากความคิด แก้การที่จะเข้าไปหลงหรือ ยึดเอาความคิดนั้นมาเป็นตัวเราของเรา แล้วเมื่อขยายจิตหรือความรู้สึก ที่ทาหน้าที่รู้ให้กว้างกว่าเรื่องที่คิดแล้ว จิตเรารู้สึกเป็นอย่างไร ? ผู้ปฏิบัติ จะตอ้ งสงั เกตเลยวา่ ถา้ จติ กวา้ งกวา่ ตวั กวา้ งกวา่ เรอื่ งทคี่ ดิ แลว้ จติ ใจรสู้ กึ อยา่ งไร... รสู้ กึ สงบขนึ้ รสู้ กึ ผอ่ นคลายขนึ้ รสู้ กึ เบาขนึ้ ไมแ่ นน่ ไมอ่ ดึ อดั แลว้ นนั่ คอื การคลายอปุ าทาน นนั่ คอื การทา จติ ของตนเองใหม้ กี า ลงั ทา สตใิ หม้ ี กาลัง ให้มีพลังมากกว่าอารมณ์/มากกว่าความคิด
อารมณ์ ในที่นี้คือสิ่งที่ถูกรู้ สิ่งที่ถูกรู้ ในที่นี้ก็คือความคิดนั่นเอง ถ้าจิตเรากว้างกว่าความคิด/กว้างกว่าเรื่องที่คิดแล้ว ความคิดนั้นไม่ทาให้ จิตอึดอัด ไม่ทาให้เป็นทุกข์ นั่นคือการดับทุกข์อย่างหนึ่ง ไม่ใช่การห้าม ความคิดเกิด แต่เป็นการจัดการกับความคิดด้วยสติ สมาธิ และปัญญา ปญั ญา คอื การพจิ ารณาสงั เกตเหน็ วา่ จติ กบั ความคดิ เปน็ คนละสว่ นกนั ถ้าใครทาได้อย่างนี้ เราเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นการแยกนามกับนาม หรือแยกจิตกับจิต จิตอันหนึ่งก็คือตัวความคิด จิตอีกอันหนึ่งคือ ตัวจิตที่ทาหน้าที่รู้ หรือที่เรียกว่าวิญญาณรู้ ที่ประกอบด้วยเจตนา นั่นคือ มีสติสัมปัชชัญญะ จิตตรงนี้ก็มีกาลังมากขึ้น เมื่อจิตตรงนี้มีกาลังมากขึ้น ทาให้อารมณ์ที่เกิดขึ้นนั้น ไม่เข้ามารบกวน หรือไม่สามารถทาจิตให้เป็น ทุกข์ได้ แต่ความคิดนั้นก็ยังทาหน้าที่ของตนไป ในบางขณะในบางเรื่องที่
29