Page 36 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 36

30
จาเป็นต้องเกิดขึ้น ต้องทาหน้าที่ของตน มีเหตุปัจจัยอยู่ แต่ความทุกข์ได้ ดบั ไปแลว้ ความอดึ อดั หายไปแลว้ ความกระสบั กระสา่ ยความวนุ่ วายหาย ไปแล้ว เหลือความคิด ถ้าเห็นว่า ความคิด กับ จิต แยกส่วนกัน แล้วจิต ที่ทาหน้าที่รู้เบากว้างกว่าเรื่องที่คิด สิ่งที่ต้องสังเกตต่อก็คือว่า ความคิดที่ เกิดขึ้นมานั้นมีการเกิดดับอย่างไร อันนี้อย่างหนึ่ง
การที่เน้นว่าเกิดดับอย่างไร เรามีเจตนาที่จะยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา คือพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์เป็นสาคัญ อาการพระไตรลักษณ์ ก็คือ การเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปของความคิด เห็นความเปลี่ยนแปลงไป ไม่เหมือนเดิม เกดิ ดบั เรว็ ๆ แลว้ กช็ า้ เกดิ ดบั แบบนนั้ เดยี๋ วเปลยี่ นอยา่ งนนั้ เดยี๋ วเปลยี่ น แบบนี้ เรียกว่าความอนิจจัง การเกิดขึ้นแล้วดับไป เกิดขึ้นแล้วดับไป... เป็นทุกขลักษณะ คือไม่สามารถตั้งอยู่ในสภาพเดิมได้ และอีกอย่างหนึ่ง เมื่อเห็นการเกิดการดับของความคิดอยู่เนือง ๆ เราเห็นว่าความคิดเกิด แล้วดับไป บังคับไม่ให้ดับไม่ได้ เกิดแล้วก็ต้องดับ บังคับอยากให้เกิด ตามที่ต้องการ บางครั้งก็ไม่เป็นอย่างที่ต้องการ นั่นคือความเป็นอนัตตา คือบังคับบัญชาเขาไม่ได้ นี่คือการพิจารณาความคิดในลักษณะของกฎ ไตรลักษณ์ ตรงนี้เราจะคลายจากอุปาทานได้ง่ายขึ้น ผู้ปฏิบัติจะได้เห็นถึง สัจธรรมว่า ความคิดไม่ใช่ของเรา ความคิดก็ไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วดับไป มีแล้วหายไป เมื่อมีเหตุปัจจัยพร้อมก็เกิดขึ้นมา อันนี้อย่างหนึ่ง และ อีกส่วนหนึ่งในการพิจารณาความคิดก็คือ พอทาจิตให้ว่างให้สงบ มีสติ มีสมาธิ จิตเป็นระเบียบแล้ว ก็ยกเรื่องนั้นขึ้นมาพิจารณาว่า เรื่องที่กาลัง เกิดขึ้นมีปัญหาตรงไหน ต้องจัดการกับเรื่องนั้นอย่างไร ยกเรื่องนั้นขึ้น มาพิจารณาเพื่อที่จะแก้ปัญหา เพื่อที่จะรู้ถึงความเป็นไป อันนี้อย่างหนึ่ง
































































































   34   35   36   37   38