Page 38 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 38
32
จติ จะเกดิ ความผอ่ งใส หรอื มคี วามสงบเกดิ ขนึ้ มา แตถ่ า้ สตมิ คี วามชดั เจน ถ งึ ก า ร เ ก ดิ ด บั พ ร อ้ ม ก บั ป ญั ญ า ท เี ่ ข า้ ใ จ เ ห น็ ช ดั ถ งึ ค ว า ม ไ ม เ่ ท ยี ่ ง ข อ ง อ า ร ม ณ ์ เหล่านั้น เรายึดไม่ได้ และไม่จาเป็นต้องยึด มีประโยชน์อย่างนี้ ไม่มี ประโยชน์แบบนี้ จิตจะเกิดมีความปิติ มีความสุข มีความอิ่มใจเกิดขึ้น หรือมีความสว่างเกิดข้นึ มาภายในจิตใจ เป็นความสว่างที่เกิดจากปญั ญา คือการได้เข้าใจในสิ่งที่เกิดขึ้น เช่น ความคิดที่เคยทาให้เราเครียด ทาให้ เราทุกข์ ทาให้ไม่สบายใจ พอมีสติ-สมาธิ-ปัญญาพิจารณาถึงความเป็นไป ถึงสาระถึงประโยชน์ ถึงคุณถึงโทษที่เกิดขึ้น เข้าใจชัดเจนแจ่มแจ้งด้วย ตนเองแลว้ กจ็ ะเกดิ มคี วามสขุ ความสบายใจขนึ้ มา จติ กค็ ลายจากอปุ าทาน ไม่เกิดความวิตกกังวล ไม่เกิดความกระวนกระวายขึ้นมา จิตก็เข้าไปสู่ ความสงบเย็น สงบจากการปรุงแต่ง
เพราะฉะนั้น ในการปฏิบัติธรรม ความคิดก็เป็นอารมณ์หลักอย่างหน่ึง เขาเรยี กวา่ จติ ตานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน เมอื่ มอี าการทางจติ เกดิ ขนึ้ มคี วามคดิ ต่าง ๆ เกิดขึ้น มีความรู้สึกไม่สบายใจเกิดขึ้นภายในจิตใจของเรา ตาม กาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้น-ต้ังอยู่-ดับไป ก็เป็นการตามดูจิตในจิตอย่างหนึ่ง ไปดูความคิด ไปดูการปรุงแต่ง ความคิดที่เป็นเรื่องราวที่ผ่านมาผุด ๆ ขึ้นมา ก็เรียกว่าเป็น สัญญาขันธ์ ส่วนตัวการปรุงแต่ง พอมีเรื่องราวผุดขึ้นมา แล้วก็ คิดต่อไป ปรุงแต่งต่อไป อันนี้เขาเรียกว่า สังขารขันธ์ แต่ในขณะเดียวกัน การปรุงแต่ง สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ เหมือนจะมีแต่ขันธ์ขันธ์หนึ่งที่ เกิดขึ้น แต่จริง ๆ แล้วผลกระทบที่เกิดขึ้นที่ทาให้เราทนยาก ก็คือ เวทนาขนั ธ์ เวทนาทางจติ ทพี่ ดู เมอื่ กกี้ ค็ อื วา่ เกดิ ความไมส่ บายใจ อดึ อดั ใจ เพราะฉะนนั้ จะเหน็ วา่ กระบวนการของธรรมะ/ของสภาวธรรมทเี่ ปน็ ปจั จยั ซึ่งกันและกัน เป็นเหตุเป็นผลแก่กัน เขาไม่ได้มาแล้วเป็นแค่นี้หรอก เขามีเหตุ