Page 40 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 40

34
อารมณใ์ ดมากทสี่ ดุ อารมณน์ นั้ /เรอื่ งนนั้ จะผดุ มากทสี่ ดุ เดยี๋ วเกดิ ขนึ้ เดยี๋ ว เกิดขนึ้...บางทีเราคลุกคลีโดยทไี่ม่รู้ตัวทงั้ๆทไี่มอ่ยากคลกุคลีไมอ่ยาก เขา้ ไปยงุ่ เกยี่ ว ไมช่ อบเรอื่ งนนั้ ๆ แตใ่ นขณะเดยี วกนั กค็ ดิ ถงึ เรอื่ งนนั้ บอ่ ย ๆ สงั เกตดธู รรมชาตขิ องคนเรา ไมช่ อบ ไมพ่ อใจ แตจ่ ะคดิ ถงึ เรอื่ งนนั้ บอ่ ย ๆ คิดแล้วคิดอีก คิดแล้วคิดอีก... บางทีก็คิดหาทางออก บางทีไม่ได้คิด หาทางออก คิดหาแต่โทษในเรื่องนั้น ๆ เมื่อจิตเสพอารมณ์นั้นบ่อย ๆ คลกุ คลอี ยกู่ บั อารมณน์ นั้ บอ่ ย ๆ พอมานงั่ กรรมฐาน อยากสงบ กม็ เี รอื่ งนี้ ผุดขึ้นมา... ผุดขึ้นมาเพื่ออะไร ? ความคิด/เรื่องราวที่ผุดขึ้นมาเพื่อบอก เราว่า นี่! ในใจกาลังมีสิ่งนี้อยู่ ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่ดีหรือไม่ดี แต่เมื่อไหร่ที่ นั่งสมาธิแล้วเรื่องที่เราไม่ชอบปรากฏเกิดขึ้นมา เราก็บอกตัวเองได้เลย ว่าเป็นเรื่องที่ไม่ดี เหมือนกับสภาวธรรมนั้นปรากฏเกิดขึ้นมาให้เราชาระ ขัดเกลาจิตใจของเรา ถ้าไม่อยากเป็นแบบนี้ ก็ไม่ควรเข้าไปคลุกคลีกับ อารมณ์นั้นมากนัก
ทา อยา่ งไรถงึ จะไมค่ ลกุ คลใี นอารมณท์ ไี่ มช่ อบในอารมณน์ นั้ ๆ ได้ ? ตรงนี้แหละเป็นสิ่งสาคัญมาก ๆ การปฏิบัติจะช่วยชาระขัดเกลาจิตใจของเรา ชาระความทุกข์ของเรา ชาระวิธีคิด เพราะถ้าเรารู้ด้วยตัวเองว่า การคิด แบบนี้ การเข้าไปคลุกคลีกับอารมณ์แบบนี้ มีแต่จะนามาซึ่งความทุกข์ใจ ความเดือดร้อนใจ ความไม่สบายใจ ความเศร้าใจ เพราะฉะนั้น จะทา อย่างไร ? ก็เลิกเสีย! บอกตัวเองว่า ฉันจะหยุด จะไม่คิด จะไม่เข้าไปยุ่ง ไม่คลุกคลีกับอารมณ์เหล่านั้นแล้ว เมื่อพิจารณาเห็นถึงทุกข์และโทษของ การคิดการคลุกคลีในอารมณ์เหล่านั้น ก็ควรบอกตัวเองให้คลายออกมา แต่ที่เราเป็นทุกข์เพราะว่าเราเข้าไปยึดว่าความคิดนั้นเป็นของเรา เราเป็น คนคิด เราเป็นคนปรุงแต่ง ที่บอกเมื่อกี้ว่า ถ้าเราพิจารณาแล้วเห็นว่าเรา
































































































   38   39   40   41   42