Page 39 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 39

มีผลในตัวเอง แต่การที่เราปฏิบัติธรรม ไม่ว่าอยากจะสงบ ไม่ว่าอยากจะ ปล่อยวาง อยากจะผ่อนคลาย ก็ต้องอาศัยการกาหนดรู้อารมณ์ปัจจุบัน แบบนี้นี่แหละ รู้อาการที่เกิดขึ้น
ทีนี้บางทีเราปฏิบัติแล้ว ก็อยากสงบอย่างเดียว ไม่อยากจะวุ่นวาย ไม่อยากจะคิดอะไร ก็พยายามบังคับให้สงบ ซึ่งบางครั้งจึงทาให้รู้สึกว่า บางวนั กป็ ฏบิ ตั ไิ ด้ บางวนั กป็ ฏบิ ตั ไิ มไ่ ด้ ตอนทนี่ งั่ แลว้ ปฏบิ ตั ไิ ด้ คอื ปฏบิ ตั ิ แลว้ รสู้ กึ สงบดี มสี ตอิ ยกู่ บั ปจั จบุ นั ไดน้ าน มคี วามสบาย ไมม่ อี ะไรรบกวน บางวันที่ปฏิบัติไม่ได้ ก็คือมีความคิด มีเรื่องราวต่าง ๆ มากมายเข้ามา ก็จัดเป็นอารมณ์ของจิตที่ต้องรับรู้ หรือเอามาเป็นอารมณ์กรรมฐานได้ อย่างที่บอกแล้ว ก็คือการที่เรากาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปของ ความคิด เพราะฉะนั้น ทุกครั้งที่เราปฏิบัติธรรม อาการสี่อย่างนี้จะสลับ กันมา คืออาการทางกาย แล้วก็มีเวทนา มีจิต มีสภาวธรรมที่เกิดขึ้น แต่ที่ พดู ถงึ ความคดิ เพราะวา่ เปน็ สภาวธรรมสา คญั ทเี่ กดิ ขนึ้ แลว้ มกั จะรบกวน ผู้ปฏิบัติ ทาให้เข้าใจว่าปฏิบัติไม่ได้ ความคิดรบกวนเยอะเลยนั่งไม่ติด จะกา หนดลมหายใจกไ็ มไ่ ด้ จะกา หนดพองยบุ กไ็ มไ่ ด้ มแี ตค่ วามคดิ อยา่ ง เดียวเลย... นั่นแสดงว่าเราไม่เข้าใจว่าอารมณ์ปัจจุบันขณะนั้นคืออะไร เราไม่เข้าใจว่า การเจริญกรรมฐานนั้น ให้มีสติรู้อารมณ์ปัจจุบันเป็นหลัก โดยเอาอารมณป์ จั จบุ นั ทชี่ ดั ทสี่ ดุ นนั่ แหละมาเปน็ อารมณห์ ลกั ในการเจรญิ กรรมฐานในการปฏิบัติธรรมของเรา
การกาหนดรู้ความคิด พิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงการเกิดดับ ของความคิด/เรื่องราวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น อีกส่วนหนึ่งผู้ปฏิบัติจะได้เห็น หรือจะได้เข้าใจว่า ตามปกติแล้วในชีวิตประจาวันของเรา จิตใจของเรานั้น คลุกคลีอยู่กับอารมณ์ไหนมากที่สุด ถ้าจิตใจคลุกคลีเกาะเกี่ยวอยู่กับ
33































































































   37   38   39   40   41