Page 41 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 41
เป็นคนอย่างไร ก็กลับมาแก้ไขที่ตัวเอง พัฒนาตัวเอง ด้วยการที่เราจะไม่ เข้าไปทาอย่างนั้นอีก ไม่คิดจะทาอย่างนั้นแล้ว เพราะทาไปแล้วก็นามาซึ่ง ความทุกข์ แล้วทาอย่างไร ? ก็ถอยกลับมาดูจิตตัวเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การที่ผู้ปฏิบัติเห็นว่า ความคิด กับ จิตที่ทาหน้าที่รู้ เป็นคนละส่วนกัน ด้วยแล้ว เราจะบอกตัวเองได้ทันทีว่า แล้วเราหลงไปเอามาเป็นของตัวเอง ทาไม การอยู่กันคนละส่วนก็เป็นสิ่งที่ทาให้เกิดความอิสระความสบายอยู่แล้ว แล้วจะหลงเข้าไปคลุกคลีทาไม!?
บอกตวั เอง เตอื นตวั เอง บอกกบั ใจตวั เองวา่ นไี่ ง! ความจรงิ ทเี่ กดิ ขนึ้ จิตที่ทาหน้าที่รู้ กับ ความคิด เขาเป็นคนละส่วนกัน แล้วทาไมต้องไปยึด เอาว่าเป็นของเรา ไม่ว่าเรื่องนั้นจะดีหรือไม่ดี... ถ้าเรื่องดีมักจะไม่ค่อยมี ปัญหาหรอก เรื่องที่ดีแล้วก็ส่งเสริมไป อันไหนไม่ดีน่ันแหละคือสิ่งที่ต้องละ ต้องคลายออกไป ถ้าพิจารณาแบบนี้ เราจะเห็นว่า สิ่งที่เราต้องละก็ไม่ใช่ ทุกเรื่อง เป็นบางเรื่องที่เราต้องละไป วางไป เพื่อไม่ให้เกิดความทุกข์ ไม่ เขา้ ไปยดึ ไมเ่ ขา้ ไปคลกุ คลี สงิ่ ดี ๆ กจ็ ะเกดิ ขนึ้ มาภายในจติ ใจของเรา ตรงนี้ แหละเป็นการปรับทิฏฐิ ทาให้เกิดปัญญาเห็นความเป็นจริงว่า จิตที่ทา หน้าที่รู้ กับ ความคิด เป็นคนละส่วนกัน อันนี้เราเห็นอะไร เห็นสัจธรรม ข้อไหน ? เราเห็นสัจธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้าที่ว่า จิตที่ทาหน้าที่รู้ หรือวิญญาณรู้ก็เป็นส่วนหนึ่ง เป็นขันธ์ขันธ์หนึ่ง ความคิดที่เกิดขึ้นก็เป็น อกี สว่ นหนงึ่ เปน็ อกี ขนั ธห์ นงึ่ ไมใ่ ชจ่ ติ ทที่ า หนา้ ทรี่ .ู้ .. จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ เู้ ขา้ ไป รู้ความคิด พอความคิดดับไป จิตที่ทาหน้าที่รู้ก็ไปรู้เรื่องอื่นต่อไป อย่างเช่น มีลมหายใจ มีอาการพองยุบเกิดขึ้นมา มีอาการเต้นของหัวใจเกิดขึ้นมา หรือว่ามีแสงสว่างเกิดขึ้นมา มีภาพปรากฏขึ้นมา ฯลฯ จิตที่ทาหน้าที่รู้ก็ ทาหน้าที่ของตนไป อะไรเกิดขึ้นมา จิตที่ทาหน้าที่รู้ก็ทาหน้าที่ไป
35