Page 43 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 43

บุคคล ตัวตน เรา เขา เป็นแต่รูปกับนาม/กายกับจิตที่กาลังเป็นไปอยู่เนือง ๆ
เราเหน็ วา่ แมต้ วั ความคดิ เองกไ็ มใ่ ชข่ องเรา เวทนา/ความไมส่ บายใจกบั จติ ที่ทาหน้าที่รู้ ก็ไม่ใช่ของเรา พอจิตกว้างขึ้น ความไม่สบายใจก็หายไป ความทกุ ขด์ บั ไป พอจติ กวา้ งขนึ้ ตวั ไมไ่ ดบ้ อกวา่ เปน็ ของเรา จติ ไมไ่ ดบ้ อก ว่าเป็นของเรา ตรงนั้นเห็นอะไร ? การที่เห็นถึงความไม่มีเรา ไม่ได้บอกว่า เปน็ ตวั เราของเรา นนั่ แหละคอื เหน็ ถงึ ความเปน็ อนตั ตา เราจะเหน็ วา่ ทา ไม รปู เปน็ อนตั ตา ถงึ แมเ้ หน็ รปู /ตวั นงั่ อยู่ แตก่ ไ็ มไ่ ดบ้ อกเปน็ ตวั เราเปน็ ของเรา เป็นเหมือนสิ่งสิ่งหนึ่ง เป็นรูปรูปหนึ่ง ตั้งอยู่นิ่ง ๆ เหมือนท่อนไม้ท่อนฟืน ไม่ได้บอกว่าเป็นเราเป็นเขาเป็นใคร นี่แหละคือสภาวธรรม คือสัจธรรม อย่างหนึ่งที่ผู้ปฏิบัติพึงพิจารณา
ทีนี้พิจารณาถึงความเป็นอนัตตา เห็น จิต กับ กาย แยกจากกัน เรียกว่าแยกรูปนาม เห็น จิต กับ กาย เป็นคนละส่วนกัน เรียกว่า แยก รูปนาม แล้วก็เห็นถึงความเป็นอนัตตา เห็นถึงความไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ลองสังเกตดูสิว่า ขณะที่เห็นว่า ตัวนี้ไม่ใช่ของเรา จิตที่กว้างก็ไม่ใช่ของ เรา สภาพจิตใจเป็นอย่างไร หรือให้ความรู้สึกเป็นอย่างไร... รู้สึกโล่ง รู้สึก สบายไหม รู้สึกมีความสุขไหม จิตรู้สึกอิสระไหม ? การที่ไม่ต้องไปยึดโยง เกาะเกยี่ วกบั สงิ่ ใดสงิ่ หนงึ่ จติ ไมถ่ กู ครอบงา ดว้ ยโมหะ ดว้ ยความเขา้ ใจผดิ ด้วยความหลง ว่ารูปเป็นของเรา จิตเป็นของเราแล้วนั้น จะสบายแค่ไหน! ถ้าเห็นว่าไม่ยึดติดแบบนี้แล้ว จิตมีความสุข มีความอิสระ มีความสบาย ความทุกข์ไม่เกิดขึ้น นั่นแหละทาไมพระพุทธเจ้าถึงตรัสถึงความเป็นจริง ของรูปนามกายใจนี้ ว่าแยกออกมาเป็นห้าส่วนหรือห้าขันธ์ มีรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เป็นคนละส่วนกัน เป็นคนละอย่างกัน นั่นคือ การพิจารณาถึงความเป็นคนละส่วนระหว่าง จิต กับ อารมณ์
37































































































   41   42   43   44   45