Page 45 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 45
สังเกตดู ภายในชั่วโมงหนึ่งที่เราเจริญกรรมฐาน สภาวธรรมอะไรเกิดขึ้น มาบ้าง ? ยกตัวอย่างเช่น เรากาหนดอาการพองยุบไปสักระยะหนึ่ง แล้ว ก็มีความคิดแทรกเข้ามา เรียกว่าเป็นอารมณ์จร พอความคิดแทรกเข้ามา บ่อยเข้า ๆ เร็วขึ้น มากขึ้น อาการพองยุบเริ่มไม่ชัด ความคิดกลายเป็น อารมณ์ปัจจุบันที่เกิดขึ้น ต่อมาความคิดลดลง ๆ หมดไป รู้สึกถึงอาการ ของลมหายใจเข้า-ออกชัดขึ้นมาแทน นั่นคือสภาวะที่บอกว่าเวียนกันมา ขอทาความเข้าใจนิดหนึ่ง สาหรับผู้ที่ไม่เคยปฏิบัติหรือเพิ่งปฏิบัติใหม่ คาว่า “ ก า ห น ด ” ต ร ง น กี ้ ค็ อื ก า ร ท เี ่ ร า ม สี ต สิ มั ป ช ญั ญ ะ ต า ม ร ก้ ู า ร เ ป ล ยี ่ น แ ป ล ง ข อ ง ลมหายใจเข้า-ออก การใส่ใจเข้าไปสังเกตดูว่าเขาเกิดขึ้นแล้วดับอย่างไร เปลี่ยนไปอย่างไร นี่แหละเขาเรียกว่า ตามกาหนดรู้อาการเปลี่ยนแปลง ตามกาหนดรู้อาการเกิดดับ ของอารมณ์ปัจจุบัน
การเจริญวิปัสสนากรรมฐานมีหลักอยู่สี่อย่าง ที่เรียกว่าสติปัฏฐานสี่ คือ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน จิตตานุปัสสนา สติปัฏฐาน ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน สี่อย่างนี้ที่เกิดขึ้นมาเป็นอารมณ์ กรรมฐาน อาการทางกายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นมา มีลมหายใจ มีพองยุบ มี อาการเต้นของหัวใจ เมื่อมีเจตนาตามกาหนดรู้อาการทางกายเหล่านั้น จึง เรยี กวา่ กายานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน ไมว่ า่ อาการอะไรกต็ ามทเี่ กดิ ขนึ้ ทางกาย เย็น-ร้อน-อ่อน-แข็ง-เคร่ง-ตึง-หนัก-เบาก็เป็นอาการทางกาย ถึงแม้เราจะ แยกไปว่าเป็นการกาหนดรู้อาการของธาตุ ดิน น้า ลม ไฟก็ตาม แต่ถ้า จัดอยู่ในสติปัฏฐานสี่ ก็คืออาการทางกายนั่นเอง ความคิดที่เกิดขึ้นก็เป็น อาการทางจติ อยา่ งหนงึ่ ธรรมะ/สภาวธรรมทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ใจของเรา ไมว่ า่ จะ เป็นความสงบ ความใส ความสุข ความมั่นคง อาการเกิดดับที่เป็นสภาวะ ป ร ม ตั ถ ์ ห ร อื เ ป น็ น มิ ติ ท เี ่ ก ดิ ข นึ ้ ภ า ย ใ น จ ติ ใ จ ก ล็ ว้ น เ ป น็ ส ภ า ว ธ ร ร ม ท เี ่ ก ดิ ข นึ ้
39