Page 47 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 47

ใครทาได้ก็สานต่อไป แต่วันนี้ที่พูดมา พูดถึงปัญหาของความคิด สาหรับ ผปู้ ฏบิ ตั ทิ รี่ สู้ กึ วา่ เวลาปฏบิ ตั ธิ รรมแลว้ มคี วามคดิ เกดิ ขนึ้ มา มกั จะมปี ญั หา วา่ ปฏบิ ตั ไิ มไ่ ดเ้ พราะความคดิ รบกวน ทา ใหไ้ มส่ งบเลย กจ็ ะเหน็ วา่ ความคดิ ที่เกิดขึ้น ถ้าเราตั้งสติดี ๆ พิจารณาถึงสภาวธรรมความจริงที่เกิดขึ้น สังเกตกาหนดรู้ถึงความเป็นคนละส่วนแล้ว ความคิดนั้นก็ไม่ใช่ปัญหา และเราจะได้ประโยชน์จากความคิดตรงที่ไม่คล้อยตาม ไม่ปฏิเสธ และ เข้าใจว่าเรื่องราวความคิดที่เกิดขึ้นนั้น ได้นามาพิจารณาว่าเป็นสาระ เป็น ประโยชนอ์ ยา่ งไร เปน็ โทษอยา่ งไร มคี ณุ หรอื เปน็ โทษ หรอื ไมม่ สี าระแกน่ สาร อะไรเลย เราจะไดว้ างจติ ไดถ้ กู จะบอกกบั ตวั เองไดว้ า่ ควรจะละ ควรเขา้ ไป คลุกคลี หรือควรที่จะหาอะไรทาที่ดีกว่านั้น เราจะเปลี่ยนอารมณ์ได้ง่าย ถ้าเรารู้ว่าอารมณ์นี้ไม่มีสาระ เราก็เปลี่ยนเป้าหมายเสีย เปลี่ยนเป้าหมาย อยา่ งไร ? ถา้ ความคดิ นนั้ ยงั ปรากฏอยู่ กเ็ ปลยี่ นเปา้ หมาย ไมต่ อ้ งไปสนใจ ว่าเป็นเรื่องราวอะไร แต่ให้ไปสนใจการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปแทน
การที่สนใจอาการพระไตรลักษณ์ เป็นการยกจิตขึ้นสู่วิปัสสนา กาหนดรู้ถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป มีความคิดเป็นอารมณ์ปัจจุบัน จะ ทาให้เป็นประโยชน์แก่เรา เป็นประโยชน์อย่างไร ? คือให้เรามีอารมณ์ใน การเจริญกรรมฐาน มีสติรู้อยู่กับอารมณ์ปัจจุบัน สติ-สมาธิก็จะตั้งมั่นขึ้น แก่กล้าขึ้น ปัญญาตามมาชัดเจน มีการเกิดดับไป เกลี้ยงไป สิ่งที่ได้มาก็คือ สติ-สมาธิแก่กล้าขึ้นโดยอาศัยการกาหนดรู้ความคิดนั้น ๆ จนหมดไป เกลี้ยงไป เป็นการชาระจิต ชาระเศษอารมณ์ที่ตกค้างอยู่ภายในจิตใจให้ เกลี้ยงไป เกลี้ยงแล้วเป็นอย่างไร ? เมื่อไหร่ก็ตามที่เรากาหนดอารมณ์ ต่าง ๆ ที่ตกค้างอยู่ในจิตใจจนเกลี้ยงไป ว่างไป จิตก็จะมีความผ่องใสขึ้น มีความโล่งขึ้น มีความเบาขึ้น มีความโปร่งขึ้น มีความกว้างขึ้น สบายขึ้น อิสระขึ้น นั่นคือการชาระสิ่งที่ตกค้างอยู่ภายในจิตใจ ไม่ว่าเรื่องนั้นจะเป็น
41
































































































   45   46   47   48   49