Page 48 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 48

42
เรื่องสัพเพเหระหรือเป็นเรื่องไร้สาระก็ตาม ถ้ายังค้างอยู่ในจิตใจของเรา เราก็ไม่รู้สึกสบาย ไม่รู้สึกโล่ง ไม่รู้สึกโปร่ง ไม่รู้สึกอิสระ เพราะเขาจะ ปรากฏแทรกเข้ามาเป็นระยะ ๆ อยู่
เพราะฉะนั้น การที่รู้จักเลือกว่าจะพิจารณาแบบไหน จะรู้อาการ พระไตรลกั ษณ์ รอู้ าการเกดิ ดบั หรอื รเู้ รอื่ งราวทเี่ กดิ ขน้ึ มานนั้ วา่ มปี ระโยชน์ อย่างไร ความคิดที่เกิดขึ้นมามีประโยชน์อย่างไร มีโทษอย่างไร เรารู้ว่าเรา มีทางเลือก ถ้าปรารถนาความสุขความสงบกับชีวิตควรจะเลือกอย่างไร อันนี้เป็นสิทธิ์ของแต่ละคน จริง ๆ แล้วผู้ปฏิบัติธรรมมีเป้าหมายของการ ปฏิบัติอยู่แล้ว เหมือนเรารู้ว่าเราปฏิบัติธรรมเพื่อที่จะศึกษาธรรมะคาสอน ของพระพุทธเจ้า ที่พระองค์ทรงสอนแนวทางที่เป็นไปเพื่อความดับทุกข์ เพื่อความอิสระ ไม่ถูกครอบงาด้วยโลภะ-โทสะ-โมหะ ถ้าเรามีเป้าหมาย ตรงนี้ การพิจารณาสภาวธรรม ไม่ว่าดูลมหายใจเข้า-ออก หรือรู้ความคิด หรือดูอาการพองยุบ จนสติ-สมาธิ-ปัญญาพัฒนาขึ้นแล้ว มีอารมณ์อะไร เกิดขึ้นมา ก็ควรพิจารณาถึงสาระประโยชน์ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นผัสสะ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย หรือใจก็ตาม หรือว่าความคิดที่เกิดขึ้นมาบ่อย ๆ นั้นมีสาระหรือไม่มีสาระอย่างไร อันนั้นก็ควรพิจารณา เพราะจะทาให้เรา มปี ญั ญาเขา้ ใจในเรอื่ งนนั้ ๆ และจะวางหรอื จะคลายจากอปุ าทานจากเรอื่ ง นั้น ๆ ได้ ปัญญาก็เกิดขึ้นในลักษณะอย่างนี้
เพราะฉะนั้น วันนี้การที่อาจารย์ได้นาปฏิบัติ พูดธรรมะให้เรา ป ฏ บิ ตั ธิ ร ร ม ก นั บ อ ก ว ธิ กี า ร พ จิ า ร ณ า ส ภ า ว ธ ร ร ม บ อ ก ว ธิ กี า ร แ ก ป้ ญั ห า เ ว ล า นั่งปฏิบัติธรรม เมื่อมีความคิดเกิดขึ้นแล้วควรทาอย่างไรนั้น ก็เห็นว่า สมควรแก่เวลา ก็ขอหยุดไว้แต่เพียงเท่านี้ ขอความเจริญในธรรมจงมีแก่ โยคีผู้สนใจในธรรมทั้งหลายทุก ๆ คน เจริญพร































































































   46   47   48   49   50