Page 46 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 46

40
ภายในใจของเรา นั่นเป็นสภาวธรรมที่ผู้ปฏิบัติจะต้องใส่ใจเข้าไปกาหนดรู้ ถ้าเรารู้ว่าอาการที่เกิดขึ้นตอนที่เรานั่งกรรมฐานนั้นเป็นสภาวธรรม/เป็น ธรรมชาติ ไม่ใช่ปัญหาที่จะมารบกวนจิตใจของเรา สาหรับผู้ปฏิบัติธรรม แล้ว ไม่มีอะไรที่จะมาขัดขวางการปฏิบัติ ถ้าเราเข้าใจว่าเป็นธรรมชาติของ คนเรา แล้วก็เอาอารมณ์เหล่านี้แหละมาเป็นอารมณ์กรรมฐาน
เมื่อเอาอารมณ์ปัจจุบันมาเป็นอารมณ์กรรมฐานแล้ว ก็จะไม่มี ปัญหาว่า เอ๊ะ! ถ้าอาการนี้เกิดขึ้นมา จะกาหนดดีหรือไม่ดี เป็นสภาวธรรม หรือเปล่า... ตัดออกไปได้เลย! ไม่ว่าจะเป็นอาการไหนปรากฏชัดขึ้นมา ก็ ให้กาหนดรู้พิจารณาการเกิดดับของอารมณ์นั้นแหละ ถ้าอาการไหนหรือ อารมณ์ไหนที่เกิดขึ้นมาแล้วมีผลต่อจิตใจ ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายดีหรือไม่ดี ก็ตาม นั่นเป็นสภาวธรรมทั้งหมด เหมือนที่เราบอกว่า นี่ไม่ใช่สภาวธรรม แต่รบกวนทาให้เป็นทุกข์ ถามว่า ไม่ใช่สภาวธรรมแล้วทาให้เป็นทุกข์ได้ อย่างไร ? เมื่อมีผัสสะอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นภายนอกหรือ ภายใน แล้วทาให้เวทนาเกิดขึ้นมา ไม่จะเป็นอุเบกขาเวทนา ทุกขเวทนา สุขเวทนา ก็ล้วนแต่เป็นสภาวธรรมทั้งสิ้น แต่การท่ีเราสามารถเอาเวทนา มาเปน็ อารมณก์ รรมฐาน คอื ยกจติ ไปพจิ ารณาถงึ การเกดิ ขนึ้ -ตงั้ อย-ู่ ดบั ไป ได้ จะทาให้เราคลุกคลีอยู่กับธรรมะ อยู่กับสัจธรรม และจะทาให้ผู้ปฏิบัติ มีความแจ่มแจ้ง มีความเข้าใจถึงธรรมชาติของรูปนามที่ทาหน้าที่ของตน เป็นเรื่องปกติอยู่แล้ว ก็จะทาให้จิตมีความสงบ ไม่วุ่นวาย ความทุกข์จะ คลายไป เบาไปได้ นี่แหละการเจริญกรรมฐาน เพราะฉะนั้น การปฏิบัติ กรรมฐานจึงต้องใส่ใจอารมณ์ปัจจุบันให้ชัด
คราวที่แล้วพูดถึงว่า การที่เราแยกรูปนามให้ชัดเจน ทาจิตให้ว่าง ให้กว้าง แล้วสามารถใช้จิตที่ว่างที่กว้างทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ได้ ถ้า































































































   44   45   46   47   48