Page 55 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 55

ถา้ พจิ ารณาโยคจี ะรสู้ กึ เลยวา่ ดบั แลว้ วาบ ๆ ขนึ้ มาจะรสู้ กึ ดี เพราะอะไร ? มนั สวา่ งวาบ ๆ ๆ ตนื่ ตวั แตถ่ า้ ดบั -เงยี บ ดบั -เงยี บ... จะรสู้ กึ ไมป่ ระทบั ใจ จะรู้สึกทาไมไม่มีอะไร ดับแล้วเงียบ ดับเงียบ... ความเงียบคือความสงบ แต่สองอย่างนี้เขาเป็นไปตามขั้นตอน โยคีมักจะถามว่าจะเลือกอันไหนดี หรือทาอย่างไรมันจะดับแล้ววาบ ดับแล้ววาบสว่างเหมือนเดิม จะได้รู้สึก มั่นใจ ถ้าอยากได้อย่างนั้น เราก็จะได้ของเดิม! เพราะฉะนั้น จริง ๆ แล้ว การกาหนดแบบนี้ เรารู้ถึงความต่าง ถึงบอกว่าขณะที่เห็นอาการดับแล้ว วาบสว่าง วาบสว่าง... จิตตื่นตัวมากขึ้น สติมีกาลังขึ้น นั่นก็ดีอย่างหนึ่ง แต่ถามว่าจากที่ตื่นตัวอยู่ พอปฏิบัติไปเรื่อย ๆ จิตที่ตื่นตัวอยู่เปลี่ยนเป็น สงบ เงียบ อาการดับเงียบหาย เงียบหาย... มันถอยหลังหรือเดินหน้า ? คือเรารู้สึกไม่ประทับใจ รู้สึกไม่ดี
แตจ่ รงิ ๆ สภาวะเปลยี่ นไป เขาเดนิ หนา้ ไปเรอ่ื ย ๆ ตามสภาวะของเขา เพราะฉะนั้น หน้าที่ของโยคีก็คือ ให้กาหนดไปเลย อาการที่ดับแล้วเงียบ ดับแล้วเงียบ... ให้เพิ่มความนิ่ง ตั้งใจ ใส่ใจมากขึ้น แล้วดูว่าอาการที่ดับ แล้วเงียบ เงียบ เงียบ... ดับไป ๆ นี่เขาดับแบบช้าลง ๆ ๆ หรือดับแล้ว เงียบ เงียบ... เร็วขึ้น ๆ ถ้าอาการเร็วขึ้น ถึงจะเงียบก็ตาม เขาจะไม่เฉื่อย ตรงที่ “ไม่เฉื่อย” หมายถึงว่า เงียบ สงบ แต่สติสัมปชัญญะดี แล้วเวลา อาการนี้ดับ เพิ่มนิดหนึ่ง ตรงนี้จะเป็นสภาวธรรมที่ละเอียด ให้สังเกตว่า ความรู้สึกหรือจิตที่เข้าไปรู้อาการดับแต่ละขณะว่าเขาดับแล้วเงียบ ดับแล้ว เงียบ... เขาดับไปด้วยไหม ดับไปด้วยไหม... ? ให้นิ่ง แล้วก็เน้นไปที่ อาการดับตรงนี้ให้มาก ๆ ตรงนี้จะเป็นสภาวะที่เป็นอารมณ์ปรมัตถ์ จะ เป็นไปโดยปริยาย ให้เน้นและตั้งใจกาหนดรู้แบบนี้ไป ถามว่า เดินกี่รอบ ถึงจะเข้าปรมัตถ์แบบนี้... บางทีทั้งวันยังไม่เจอเลยใช่ไหม ? อาจารย์พูด
49
































































































   53   54   55   56   57