Page 62 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 62
56
ถ้าสภาพจิตไม่ได้เปลี่ยนวูบวาบเร็วขนาดนั้น แต่ละก้าวเขาไม่ได้ต่างกันเยอะ อย่างที่บอกเมื่อกี้ จากที่กระจายออกไป กระจาย ๆ ๆ สักพักเขาก็เปลี่ยน เป็นอีกแบบหนึ่ง เป็นลาดับของเขา ลองสังเกตให้ดี แต่ที่สภาวะเยอะ สว่ นใหญก่ จ็ ะเปน็ ลกั ษณะหลายอารมณ์ ในแตล่ ะกา้ วสภาวะเขาตอ่ เนอื่ งกนั ถ้ามีอารมณ์เดียว คือการเดินจงกรมกาหนดรู้อาการเคลื่อนไหวของ ตนเอง เราจะรู้ชัดถึงความต่าง แต่ถ้ามีหลายอารมณ์เกิดขึ้นตอนเดินจงกรม เช่น เดินไปแล้วได้ยินเสียง แป๊บเดียวก็มีความคิด เดี๋ยวก็ความร้อน เดี๋ยวก็อาการคัน เดี๋ยวก็มีอาการปวดขึ้นมา ตรงนี้เขาเรียกว่ามีหลาย ๆ อารมณเ์ กดิ ขนึ้ ในขณะทเี่ ดนิ จงกรม ถา้ เปน็ อยา่ งนนั้ เมอื่ ไหร่ โยคจี ะรสู้ กึ วา่ ไม่สงบ ไม่สามารถกาหนดอารมณ์หลักให้ชัดเจนได้
พอเป็นแบบนั้น ทาอย่างไร ? ถ้ามาทีเดียวหลาย ๆ อารมณ์ ใหห้ ยดุ ยนื ตงั้ สติ นงิ่ ๆ กอ่ น แลว้ สา รวจดวู า่ ขณะนอี้ ารมณไ์ หนชดั ทสี่ ดุ ... เสียงที่ยิน ความคิดที่เกิดขึ้น ความร้อนที่กาลังปรากฏอยู่ หรือเวทนาอาการคัน ที่เกิดอยู่ ? สารวจตรงนี้ เพื่อที่จะให้ผู้ปฏิบัตินั้นรู้ชัดว่าอารมณ์ปัจจุบัน ขณะนี้ อะไรที่เด่นที่สุด จะได้กาหนดรู้อาการนั้นก่อน สมมติว่า เรากาลัง เดนิ จงกรม มอี าการคนั ขนึ้ มา เราเดนิ ไมไ่ ด้ เกดิ ความวติ กกงั วลตรงนนั้ ถา้ เป็นอย่างนั้นให้พิจารณาว่า เรากาลังปฏิบัติธรรม เรากาลังกาหนดรู้อาการ พระไตรลักษณข์องทกุๆอารมณท์ี่เกดิขึ้นถึงแมเ้ราตั้งใจจะกาหนดอาการเดิน แต่ในขณะที่เราไม่สามารถกาหนดอาการเดินได้ชัดเจน เพราะมีเวทนา อาการคนั ชดั มาก เปน็ อารมณป์ จั จบุ นั ทเี่ ดน่ ทสี่ ดุ เพราะฉะนนั้ ใหห้ ยดุ เดนิ แล้วนิ่ง กาหนดอาการคันก่อน ถือเป็นการปฏิบัติในอิริยาบถยืน เพื่อ กาหนดรู้อาการเกิดดับของเวทนาไป พอกาหนดรู้ไปแล้ว จิตมีความตั้งมั่นขึ้น มีกาลังขึ้น เวทนาลดลง แล้วค่อยมาเดินต่อ การทาแบบนี้จะทาให้