Page 8 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 8

2
รู้สึกว่าตัวเองปฏิบัติไม่ได้ ทาอย่างไรดี ทีนี้เราลองมาทาความเข้าใจ นิดหนึ่งว่า การเจริญกรรมฐานนั่งสมาธินั้น เบื้องต้นท่านแนะนาให้ทา อย่างไร เบื้องต้นนั้นผู้ปฏิบัติควรจะมีอารมณ์หลักให้กับจิต คือมีอารมณ์หลัก ให้จิตได้ตามรู้ เพราะฉะนั้น ท่านจึงให้เรากาหนดรู้ลมหายใจเข้า-ออก ใชค้ า บรกิ รรมตา่ ง ๆ หรอื การกา หนดรอู้ าการของพองยบุ ทที่ อ้ ง หายใจเขา้ - ท้องพองออก หายใจออก-ท้องยุบลง เพราะอะไร ? เพราะนั่นคือ ธรรมชาติของคนเรา เวลาหายใจเข้า-หายใจออก ก็จะมีอาการชัดที่ตาแหน่งใด ตาแหน่งหนึ่ง บางคนหายใจเข้า-ออกรู้สึกชัดที่ท้อง ท้องพองออก ท้อง ยุบลง ครูบาอาจารย์ก็เลยให้กาหนดอาการพองยุบ คาว่า “กาหนด” ก็คือ มีสติตามรู้อาการพองออก-ยุบลง หายใจเข้า-ท้องพองออก หายใจออก- ท้องยุบลง ตรงนั้นเป็นอารมณ์ปัจจุบัน ตรงนี้แหละที่บอกว่า การที่เรา เจริญสติหรือนั่งกรรมฐานให้จิตสงบ ก็ต้องมีสติรู้อยู่กับอารมณ์ปัจจุบัน
เพราะฉะนนั้ เราหลบั ตาลง นงั่ ขดั สมาธิ ตงั้ กายใหต้ รง ดา รงสตใิ หม้ นั่ มีสติตามรู้อารมณ์ปัจจุบัน คือขณะที่หายใจเข้า-ออก แล้วอาการที่ท้อง พองยุบชัด หายใจเข้า...ท้องพองออก หายใจออก...ท้องยุบลง ก็ให้สนใจ แต่อาการพองยุบอย่างเดียว ให้มีสติรู้อยู่กับปัจจุบันไปเรื่อย ๆ อย่าง ต่อเนื่อง แต่ไม่ต้องบังคับ เพราะการบังคับจะทาให้เครียด จะทาให้เราเหนื่อย เพราะฉะนั้น หลักของการปฏิบัติ คือ ให้พอใจ เขาเรียกมีฉันทะ มีความ พอใจที่จะใช้สติตามกาหนดรู้อาการพองยุบไป ขณะที่ตามรู้พองยุบ ให้ กาหนดรู้ถึงการเปลี่ยนแปลง หายใจเข้า...พองเป็นอย่างไร มีอาการยาว กวา้ งออกไป หรอื พองออกไปนดิ เดยี วกห็ ยดุ แลว้ กย็ บุ เขา้ มา ตามรแู้ บบนี้ สังเกตการเปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ หลักของวิปัสสนากรรมฐาน คือ ตามรู้ อาการพระไตรลักษณ์ ก็คือตามรู้ความเป็นอนิจจัง-ทุกขัง-อนัตตา ก็คือ
































































































   6   7   8   9   10