Page 10 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 10

4
อย่างเช่น จิตจดจ่อตามรู้ลมหายใจ ๒๐ นาที สมาธิก็ตั้งมั่นอยู่ ๒๐ นาที หลังจากนั้นมีอารมณ์อื่นแทรกเข้ามา แล้วก็ตามรู้ต่อ สติอยู่ กับอารมณ์ปัจจุบันที่เกิดขึ้นมาต่อไป สติเราอยู่กับอารมณ์ปัจจุบันได้นาน เท่าไหร่ สมาธิก็ตั้งมั่นมากขึ้น เพราะฉะนั้น ถ้าเราอยากสงบในการเจริญ กรรมฐาน ไม่ต้องไปกังวล เป็นเรื่องธรรมดาว่าผู้ปฏิบัติใหม่ ๆ อยู่กับ ปจั จบุ นั ไดส้ กั ระยะหนงึ่ ไดแ้ ปบ๊ เดยี ว เดยี๋ วกจ็ ะมเี รอื่ งอนื่ เขา้ มา มคี วามคดิ เกิดขึ้น เดี๋ยวจิตแว็บไปตรงนั้นแว็บไปตรงนี้ อันนี้เป็นเรื่องธรรมดา เพียง แตว่ า่ เมอื่ เรามเี จตนา ถา้ เราตงั้ ใจแลว้ วา่ จะนงั่ สมาธหิ รอื เจรญิ กรรมฐานสกั ๓๐ นาที หรือ ๑ ชั่วโมง เราเอาเวลาเป็นตัวตั้ง กาหนดไว้เป็นกรอบเพื่อที่ จะไดอ้ ยกู่ บั ปจั จบุ นั ใหน้ านทสี่ ดุ เทา่ ทจี่ ะเปน็ ไปได้ เปน็ การฝกึ ความอดทน ฝึกเอาชนะจิตตัวเอง เอาชนะความอยากที่อยากจะทานู่นอยากจะทานี่ ไม่อยากจะนั่งแล้ว อยากจะลุก อยากจะเปลี่ยนอิริยาบถ... เราลองสังเกต ดูว่า บางครั้งพอมานั่งกรรมฐาน เราอยากปฏิบัติ อยากทาความดี อยาก ทา จติ ใจใหส้ งบ แลว้ จติ กแ็ วบ็ ไปนนู่ แวบ็ ไปนี่ แตเ่ วลาอยธู่ รรมดา กไ็ มแ่ วบ็ ไปไหน ไม่อยากทาอะไร อยากอยู่เงียบ ๆ เฉย ๆ แต่พอมาอยู่เฉย ๆ ก็ อยากทา นนู่ ทา นี่ อยากจะขยบั ไปนนู่ ไปนี่ ทา ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ วา่ ถกู รบกวน เหมือนจิตใจไม่สงบไม่มั่นคง อันนี้เป็นเรื่องธรรมดา
เวลาเรานั่งกรรมฐาน ที่บอกว่านอกจากลมหายใจหรืออาการ พองยุบที่เป็นอารมณ์หลักแล้ว ก็จะมีอารมณ์เหล่านี้ มีความคิดแทรก เข้ามา มีเวทนาเกิดขึ้น คือมีความปวดมีความเมื่อยเกิดขึ้นมา อันนี้เป็น สภาวธรรมอย่างหนึ่งที่จะเกิดขึ้นเป็นธรรมดาตอนที่นั่งเจริญกรรมฐาน สภาวธรรมเหลา่ นจี้ ะปรากฏเกดิ ขนึ้ มาใหร้ ใู้ หเ้ หน็ ถงึ ความเปน็ จรงิ ถงึ ความ เปน็ ไปของชวี ติ หรอื ความเปน็ ไปของคนเรา ทบี่ อกวา่ ไมม่ ใี ครอยากแลว้ จะ
































































































   8   9   10   11   12