Page 9 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 9
การตามรู้ “ความเปลี่ยนแปลง” ของอาการพองยุบ และสังเกตว่ามี “ความ ต่างกัน” อย่างไร คือรู้ว่าพองแต่ละครั้งต่างกันอย่างไร ยุบแต่ละครั้ง ต่างกันอย่างไร ยิ่งตามรู้ไป รู้ไป... เขาเปลี่ยนไปแล้วต่างกันอย่างไร อันนี้วิธีการกาหนดที่เป็นเบื้องต้น การที่เราตามรู้อาการพองยุบหรือตามรู้ ลมหายใจ เรยี กวา่ การกา หนดอารมณ์ หรอื การกา หนดพองยบุ การกา หนด ลมหายใจ
เวลาเราตามรลู้ มหายใจเขา้ -ออกกเ็ ชน่ กนั ถา้ จะใหด้ คี อื ถา้ เราตามรู้ ลมหายใจเข้า-ออก ให้รู้ชัดว่าตอนนี้กาลังตามรู้ลมหายใจเข้า-ลมหายใจออก มีอาการเร็ว ช้า มีการเปลี่ยนแปลง หรือถ้าเรารู้ว่าลมหายใจเข้า-ออก ของเราชัดอยู่ที่ตาแหน่งไหน... อยู่ที่ปลายจมูก หรือตั้งแต่จมูกจนถึงท้อง หายใจเข้าก็รู้สึกตั้งแต่ปลายจมูก ลึก ๆ ลงไปจนถึงท้อง แล้วก็หายใจออกมา ในการตามรู้ลมหายใจเข้า-ออก เราจะใช้คาบริกรรมกาหนดด้วยก็ได้ อยา่ งเชน่ ลมหายใจเขา้ ไป กใ็ ชค้ า วา่ “พทุ ” หรอื หายใจออก กใ็ ชค้ า บรกิ รรม ว่า “โธ” ก็ได้ เขาเรียกพุทโธ พุทโธ ธรรมชาติของจิตของคนเราอย่างหนึ่ง ถา้ ไดต้ ามรกู้ ารเปลยี่ นแปลง อยกู่ บั ปจั จบุ นั แบบนอี้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง สมาธกิ จ็ ะ ตั้งมั่นขึ้น สมาธิก็จะเพิ่มขึ้น ๆ และอีกอย่างหนึ่งก็คือว่า เรามักจะเคยเห็น ว่า จิตเรานั้นไม่ได้อยู่กับอารมณ์ปัจจุบัน เดี๋ยวซัดส่ายไปนู่นไปนี่ ไปรับรู้ เรื่องราวใหม่ ๆ ที่ต่างไปเรื่อย ๆ เหมือนไม่อยู่กับปัจจุบัน เพราะฉะนั้น การที่ ผู้ปฏิบัติใส่ใจความเปลี่ยนแปลงของลมหายใจ ใส่ใจความเปลี่ยนแปลง ของอาการพองยุบ ว่าต่างจากเดิมอย่างไร รู้อาการพระไตรลักษณ์นั้น จึง เป็นวิธีการที่จะทาให้จิตเห็นสิ่งใหม่ ๆ เห็นความเปลี่ยนแปลง เห็นความ ต่างไปของลมหายใจ ของอาการพองยุบ จิตจดจ่ออยู่กับอารมณ์นี้ได้นาน เท่าไหร่ สมาธิเราก็อยู่ได้นานเท่านั้น
3