Page 11 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 11

ได้สมหวัง อยากให้สงบแล้วจะสงบได้ทันที เราอยากนั่งสมาธิ ไม่เคยนั่ง สมาธิมาก่อนเลย พอนั่งปุ๊บก็อยากจะสงบ ไม่อยากจะคิดเลย พอคิด นดิ เดยี วกไ็ มเ่ อาแลว้ วนุ่ วายแลว้ อนั นนั้ กไ็ มใ่ ช!่ แตถ่ า้ เราเขา้ ใจวา่ ออ๋ ! เปน็ เรื่องปกติธรรมดาสาหรับผู้ที่เริ่มปฏิบัติ เริ่มนั่งสมาธิ เริ่มเจริญกรรมฐาน นี่แหละเป็นการฝึกจิต เรามาฝึกจิต ฝึกสติของเรา เป็นการพัฒนาตัวเอง ทาให้สติ-สมาธิของเรามีกาลังมากขึ้น ๆ เพื่อที่จะสงบ ก็ต้องอาศัยอารมณ์ อาศัยการฝึกอย่างนี้ เพื่อที่จะรู้เท่าทันตัวเอง เพราะฉะนั้น การที่เราปฏิบัติ ในเบื้องต้น ให้ตามรู้ลมหายใจหรือกาหนดพองยุบให้ต่อเนื่อง พอคิดปุ๊บ แล้วเราสามารถดึงจิตกลับมาที่พองยุบหรือลมหายใจได้ ก็ดึงกลับมาได้เลย ไม่เป็นไร เป็นการฝึกข่มจิตตัวเอง เป็นการเอาชนะจิตตัวเอง อันนี้เป็น เบื้องต้น
ที่บอกว่า ถ้าเราตามรู้การเปลี่ยนแปลงของลมหายใจหรือพองยุบ จะทาให้จิตหรือสติเรามีกาลังมากขึ้น ทีนี้เคล็ดลับอีกนิดหนึ่งในการท่ีเรา จะกา หนด เขาเรยี กวา่ เพอื่ พจิ ารณาความเปน็ อนจิ จงั ความไมเ่ ทยี่ งของรปู ความไม่เที่ยงของกาย ก็คือการสังเกตอาการของลมหายใจ อย่างเช่น ถ้า เราเอาลมหายใจมาเปน็ อารมณห์ ลกั ในขณะทเี่ รานงั่ กรรมฐานอยู่ ใหส้ งั เกต แบบนวี้ า่ เวลาหายใจเขา้ หายใจเขา้ ไป...สดุ ลมหายใจเขามอี าการหยดุ กอ่ นไหม ก่อนที่ลมหายใจจะออกมา พอลมหายใจออกสุดหมดแล้ว เขามีอาการหยุด หรือหายไปก่อนไหมก่อนที่จะเข้าไปถึงสุดท้อง ตามรู้แบบนี้อย่างต่อเนื่อง และเพอื่ ใหส้ ตเิ ราตงั้ มนั่ ขนึ้ อยกู่ บั ปจั จบุ นั ไดแ้ นบแนน่ ชดั เจนขนึ้ ใหส้ งั เกต ต่อว่า ระหว่างที่หายใจเข้า ตั้งแต่เริ่มหายใจเข้าจนสุดนั้น ลมหายใจมี ลักษณะอย่างไร เราไม่ต้องบังคับให้เป็น แค่ใส่ใจ ตามสังเกตว่าลมหายใจ เขาเป็นเส้น เป็นแท่ง หรือเป็นช่วง มีอาการขาดตอน หรือมีอาการสะดุด
5
































































































   9   10   11   12   13