Page 12 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 12

6
เป็นขณะ ๆ หรือมีอาการเป็นจุดเหมือนไข่ปลาแป๊บ ๆ ๆ ๆ ไป นั่นเป็น เคลด็ ลบั วธิ กี ารทจี่ ะทา ใหส้ ตเิ ราอยกู่ บั ปจั จบุ นั ไดน้ าน ไมม่ อี าการวอกแวก ไปหาอารมณ์อื่น เพราะจะมีงานให้จิตได้ทา
การที่เราสังเกตอาการของลมหายใจในลักษณะอย่างนี้ เป็นการ กาหนดรู้อารมณ์ปัจจุบัน โดยที่ไม่ต้องปรุงแต่ง ไม่ต้องสร้างขึ้นมาว่า ลมหายใจตอ้ งเปน็ อยา่ งนอี้ ยา่ งนนั้ เรามหี นา้ ทสี่ งั เกต เขาเรยี กวา่ พจิ ารณา ธรรม หรอื สงั เกตสภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ ทใี่ ชค้ า วา่ “สงั เกต” กเ็ พราะวา่ เราตามรู้ สภาวธรรมที่กาลังเป็นอยู่ เราไม่ได้ปรุงแต่งขึ้นมา ว่าควรจะเป็นอย่างนั้น อย่างนี้ ลมหายใจไม่น่าจะเป็นอย่างนี้ น่าจะยาวกว่านี้... อันนั้นคือความ คาดหวัง เป็นสิ่งที่เราคิดว่าน่าจะเป็น แต่การเจริญกรรมฐานที่ดี เราไม่ ได้ให้เป็นอย่างที่เราคิด แต่จะพิจารณากาหนดรู้ตามที่เขาเป็นว่าเป็นไปใน ลักษณะอย่างไร การตามรู้ความเปลี่ยนแปลงของลมหายใจแบบนี้ เราจะ เห็นว่าทาไมลมหายใจบางครั้งยาวบางครั้งสั้น พอตามรู้ไป ๆ สติมีกาลัง มากขึ้น จิตเริ่มนิ่งขึ้น เริ่มสงบขึ้น ลมหายใจเริ่มแผ่วเบาลงไป ทาไมเขา ถึงแผ่วเบาลงไป ? นี่แหละเราจะเห็นเหตุและผลอย่างหนึ่งว่า ถ้าคนเรา มีจิตใจสงบ ไม่มีความวิตกกังวล ไม่มีความกลัว ไม่มีความหวาดระแวง ไม่มีความทุกข์แล้ว จิตก็จะมีความเย็น นั่นผลที่เกิดขึ้นโดยตรง และการ สงั เกตสนใจความแตกตา่ งแบบนี้ ทเี่ ราเหน็ วา่ ลมหายใจเปลยี่ นไป บางครงั้ สะดดุ บางครงั้ บางไป จางไป เบาไป ดไู ปสกั พกั ลมหายใจกลายเปน็ เหมอื น เป็นคลื่นใส ๆ แผ่ออกไป ๆ นั่นก็คือลักษณะของอาการของลมหายใจที่ เปลี่ยนไป ตรงนี้เขาเรียกความไม่เที่ยงของลมหายใจ
แต่การที่เราจะเห็นอย่างนี้ได้ ไม่ใช่ว่าคิดอยากเห็นแล้วก็เห็น แต่เกิดจากการที่เราตามกาหนดรู้อารมณ์ปัจจุบัน คือใส่ใจจดจ่อตามรู้































































































   10   11   12   13   14