Page 14 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 14
8
ของผู้ปฏิบัติ หน้าที่ของผู้เจริญกรรมฐาน ให้พอใจที่จะตามรู้แบบนี้ และ อาการของลมหายใจ-อาการพองยุบตรงนี้ เขาเรียกว่า “อาการทางกาย” กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือตามรู้อาการทางกายที่มีการเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนไป ถ้าอยากสงบ ทาอย่างนี้ต่อไปเรื่อย ๆ เดี๋ยวก็สงบเอง เมื่อสมาธิ มากขึ้น อยู่กับปัจจุบันได้นานขึ้น จิตก็สงบมากขึ้น เดี๋ยวก็จะนิ่ง พอสมาธิ มากขึ้น เดี๋ยวก็จะสงบเอง
และถ้าเรากาหนดรู้อารมณ์ปัจจุบัน ตามรู้แบบนี้ไปเรื่อย ๆ จน ลมหายใจหายไป พองยุบหายไป เมื่อนั้นเราจะรู้ว่าจิตเราจะมีความสงบ มากนอ้ ยแคไ่ หน หรอื พอลมหายใจหายไป พองยบุ หายไป แลว้ เกดิ มคี วาม อิ่มใจ มีความสุขใจ มีความเบิกบานใจขึ้นมา ที่เขาเรียกว่ามีปีติเกิดขึ้น เขาจะเกดิ ขนึ้ เอง เราไมต่ อ้ งไปกงั วลหรอก ขอใหม้ คี วามเพยี ร มคี วามพอใจ ที่จะรู้อยู่กับปัจจุบัน คนเราควรจะฝึกจิตของเราให้อยู่กับปัจจุบัน อยู่กับตัวเอง ทาจิตให้สงบ เพราะจิตที่สงบจะทาให้จิตเราเป็นระเบียบ จิตที่สงบ เป็น ระเบียบ ความวุ่นวายก็น้อย ไม่ว่าโลกภายนอกหรือสิ่งรอบตัวเราจะมี ความวุ่นวายเปลี่ยนไปอย่างไรก็ตาม ถ้าเราฝึกจิตของเราให้เกิดความ สงบ มีความตั้งมั่น มีระเบียบ มีสติแล้ว ชีวิตของเราก็จะมีความสงบขึ้น ไม่วุ่นวายกับโลกจนเกินไป ไม่วุ่นวายกับสิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัวจนเกินไป ชีวิตก็จะมีความสุข อันนี้อย่างหนึ่ง เพราะฉะนั้น ตอนที่เราปฏิบัติธรรม เรานั่งสมาธิ ก็ไม่ต้องไปกังวลกับเรื่องข้างนอกหรอก วางไว้ก่อน แล้ว ทาใจให้สบาย ๆ พอใจที่จะรู้ลมหายใจเข้า-ออก พอใจที่จะตามกาหนดรู้ อาการพองยุบไป
ทนี อี้ กี จดุ หนงึ่ ขณะทเี่ ราตามกา หนดรอู้ าการพองยบุ หรอื ลมหายใจ ไปสักระยะ พอตามรู้ไปเรื่อย ๆ เรื่อย ๆ จิตเราเริ่มนิ่งขึ้น สงบขึ้นแล้ว ให้