Page 16 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 16

10
ณ ขณะนี้เดี๋ยวนี้ เพราะฉะนั้น เวลาเราตามรู้ลมหายใจ พอจิตเริ่มนิ่ง เริ่มสงบ แล้วรู้สึกว่ายังมีลมหายใจอยู่ แต่เขาอยู่ลึก ๆ เบา ๆ ก็สังเกต ว่า ลมหายใจที่เคลื่อนไหวอยู่ ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ กับ จิตที่ทาหน้าที่รู้ เขา เป็นส่วนเดียวกันไหม สังเกตซ้า ๆ ทาบ่อย ๆ เห็นจนเรามั่นใจว่า เขาเป็น ส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน
จริง ๆ แล้ว ตรงนี้เราศึกษาคาสอนของพระพุทธเจ้า ถ้าเราสังเกต จะเห็นว่าทาไมพระพุทธเจ้าถึงตรัสว่า รูปกับนามเป็นคนละส่วนกัน รูปก็ คือรูป นามก็คือนาม จิตก็คือจิต รูปกับจิตไม่ได้เป็นอันเดียวกัน เขาแยก ส่วนกัน แต่อาศัยกัน เป็นปัจจัยซึ่งกันและกัน เพราะฉะนั้น การที่สังเกต แบบนบี้ อ่ ย ๆ พอเราเหน็ วา่ จติ กส็ ว่ นหนงึ่ ลมหายใจกท็ า หนา้ ทขี่ องตน จติ ก็ทาหน้าที่ของตน ยิ่งเห็นถึงความเป็นคนละส่วนเท่าไหร่จิตยิ่งสงบ พอ จิตยิ่งสงบก็ยิ่งเห็นชัดขึ้นว่าจิตกับลมหายใจเขาเป็นคนละส่วนกัน ตรงนี้ เขาเรียกว่าจิตเราละเอียดขึ้น หรือมีปัญญามากขึ้นนั่นเอง ปัญญาเห็นว่า รูปกับนามเป็นคนละส่วนกัน อาการของลมหายใจ เขาเรียกว่าเป็นอาการ ของรปู เปน็ อาการทางกาย เพราะฉะนนั้ การทเี่ ราตามรลู้ มหายใจเขา้ -ออก ทางวิปัสสนาเขาบอกว่าเป็นการตามรู้อาการทางกายที่เกิดขึ้น ที่เรียกว่า กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ไม่ว่าจะเป็นการตามรู้อาการของลมหายใจเข้า-ออก การตามรู้อาการของพองยุบ ก็เป็นการตามรู้อาการทางกาย เพราะฉะนั้น การสังเกตตรงนี้ เราจะได้เห็นได้ง่ายขึ้นว่า เมื่อจิตสงบแล้ว จะเห็นชัดว่า จิตกับกายเขาเป็นส่วนเดียวกันไหม หรือเป็นคนละส่วนกัน
ให้ทาแบบนี้อยู่เนือง ๆ กาหนดให้ต่อเนื่องไปจนหมดเวลา ถ้าเรา ตงั้เวลาไวป้ระมาณ๓๐นาทีพอถงึ๓๐นาทีกค็ลายจากกรรมฐานคลาย สมาธิออกมา พอพูดถึงว่า คลายสมาธิ คลายกรรมฐาน ทาอย่างไร ต้อง































































































   14   15   16   17   18