Page 18 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 18

12
ไดไ้ หม แลว้ กย็ า้ ยมาทไี่ หลไ่ ดไ้ หม ยา้ ยไปทศี่ อกไดไ้ หม ไปทแี่ ขนไดไ้ หม ? อันนี้คือการสังเกตดูว่าจิตที่ทาหน้าที่รู้สามารถเคลื่อนย้ายที่ได้ไหม ทาไม เราต้องสังเกตดูว่า จิตที่ทาหน้าที่รับรู้เคลื่อนย้ายที่ได้หรือไม่ได้ ?
เพราะบางทีเราจะรู้สึกว่าจิตจะต้องอยู่กับที่ จริง ๆ แล้วถ้าเรา สามารถกาหนดจิตตนเองได้ว่า ให้ย้ายไปด้านซ้าย ให้ย้ายไปด้านขวา ให้ ไปข้างหน้า หรือไปอยู่ที่ไกล ๆ ได้ เราจะควบคุมจิตตนเองได้ ควบคุม อย่างไร ? เราจะกาหนดว่า เวลาความคิดเกิดขึ้น หรือเวลาจิตเขาแว็บไป ที่ไหน เราสามารถหยุดได้เร็ว เพราะเราสามารถเปลี่ยนตาแหน่งของจิตได้ ถ้าเราไม่พิจารณาแบบนี้ เราจะเห็นว่าพอจิตไปเกาะเกี่ยวกับอารมณ์ไหน เราก็เพลิดเพลินคล้อยตามตลอด ไม่สามารถดึงจิตถอยกลับมาได้ พอจะดึงจิตถอยกลับมาจากอารมณ์เหล่านั้นเมื่อไหร่ ก็จะรู้สึกฝืน รู้สึก บังคับ รู้สึกว่ามีแรงดึงดูดบางอย่าง อารมณ์เหล่านั้นจะดึงดูดจิตเราไป จนถอยออกมาไม่ได้ คล้อยตามเขาไป ไหลตามเขาไป ก็เลยทาให้จิตใจ ไม่สงบ ตอนนี้ถ้าเราเห็นว่า เราสามารถวางตาแหน่งของจิตเราไปด้านซ้าย ไปที่แขน ไปที่ไหล ไปข้างหน้า ไปข้างหลังได้ เราก็จะสามารถวางตาแหน่ง ของสติเราได้ อันนี้สาคัญมาก ๆ นี่แหละคือการฝึกจิต ฝึกสติของเรา พอเรามปี ญั ญา เราเหน็ ชดั ถงึ ธรรมชาตขิ องจติ แลว้ เราควบคมุ จติ ตวั เองได้ ไม่ให้มันไปใส่ใจอารมณ์นั้นมากไป เราจะวางสติอยู่ตรงนี้ รับรู้อารมณ์ตรงนี้ เป็นระยะ ๆ
เหมือนเวลาเราปฏิบัติธรรม เรารู้อยู่กับอารมณ์ปัจจุบัน พอแว็บ ออกไปข้างนอกปุ๊บ เราก็กาหนดจิต มาใส่ใจอารมณ์ปัจจุบันใหม่ทันที ๆ แบบนจี้ ติ กจ็ ะมกี า ลงั มากขนึ้ ๆ เราจะไดไ้ มต่ อ้ งบงั คบั หรอื เราจะไดไ้ มต่ อ้ ง หงุดหงิด เพราะจิตเขาทาหน้าที่รับรู้นิดเดียวเขาก็ดับไปแล้ว เดี๋ยวก็กลับ































































































   16   17   18   19   20