Page 19 - แนวทางการปฏิบัติธรรม
P. 19
มารู้อารมณ์ใหม่ต่อ อันนั้นเป็นสภาวธรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไป ที่เราจะเห็น ชัดขึ้นด้วยการเริ่มต้นรู้อาการแบบนี้ ที่พูดมาถึงการนั่งกรรมฐาน หรือนั่ง ส ม า ธ ิ ก า ร เ จ ร ญิ ว ปิ สั ส น า ต ร ง น ี ้ จ ดุ ท เี ่ ร า ส งั เ ก ต ถ งึ ก า ร เ ป ล ยี ่ น แ ป ล ง ไ ม ว่ า่ จ ะ เป็นการเปลี่ยนแปลงของลมหายใจเข้า-ออกว่ามีความต่างจากเดิมอย่างไร อาการของพองยุบมีความเปลี่ยนไปอย่างไร แค่ที่เราสนใจอารมณ์สองอย่างนี้ ในการปฏิบัติธรรมทุกวัน ๆ ก็จะทาให้จิตเรามีความสงบมากขึ้น ๆ ถึงแม้ บางครั้งจะมีหลุดไปบ้าง เผลอไปบ้าง ก็ไม่เป็นไร เป็นเรื่องธรรมดา ไม่ต้องตกใจ ไม่ต้องกังวล ไม่ต้องเครียด ให้เริ่มต้นใหม่บ่อย ๆ ให้โอกาส ตัวเองทาความดี เพราะถ้าเรารู้ว่าวิธีนี้เป็นวิธีหนึ่งที่จะทาให้จิตของเรา มีความสงบหรือเป็นระเบียบเกิดขึ้นมา จิตก็จะได้พัก ไม่วุ่นวาย ไม่ใช้ พลังจนเกินไป อันนี้คือการปฏิบัติธรรมในเบื้องต้น
ทีนี้ถามว่า เวลาเราปฏิบัติธรรม มีแต่พองยุบอย่างเดียวหรือที่จะ เกิดขึ้น มีแต่ลมหายใจอย่างเดียวหรือที่จะเกิดขึ้น ? จริง ๆ แล้ว ตามหลัก ของวปิ สั สนากรรมฐาน หรอื ตามหลกั สตปิ ฏั ฐานสี่ ทา่ นกลา่ วไวว้ า่ เวลาเรา ปฏิบัติธรรม มีอารมณ์สี่อย่างเป็นอารมณ์หลักที่ผู้ปฏิบัติพึงใส่ใจกาหนดรู้ และอารมณ์สี่อย่างนี้ก็จะสลับกันเข้ามาให้ผู้ปฏิบัติได้รับรู้ได้เห็น หนึ่ง คือ เรื่องลมหายใจ เรื่องอาการทางกายที่พูดไปแล้ว แต่อีกอย่างหนึ่งซึ่งเป็น สงิ่ ทสี่ า คญั มาก ๆ สา หรบั ผปู้ ฏบิ ตั ใิ หม่ ๆ กค็ อื ความคดิ ทบี่ อกวา่ จติ วนุ่ วาย มากเลย เดี๋ยวคิดไปนู่นไปนี่ตลอด เดี๋ยวเรื่องนั้นเรื่องนี้เข้ามาตลอด เลย รู้สึกว่าไม่สามารถรู้อยู่กับอารมณ์ปัจจุบันได้ ไม่สามารถมีสติรู้อยู่กับ ลมหายใจเข้า-ออกได้อย่างต่อเนื่องยาวนาน เพราะมีแต่ความคิดเกิดขึ้น จรงิ ๆ แลว้ ความคดิ นแี่ หละเปน็ สภาวธรรมอยา่ งหนงึ่ เปน็ อารมณป์ จั จบุ นั หรอื เรยี กวา่ เปน็ อารมณก์ รรมฐานอยา่ งหนงึ่ เปน็ อารมณก์ รรมฐานเหมอื น
13