Page 26 - สภาพจิต
P. 26
20
ยิ่งสะอาดขึ้น แล้วจิตที่สะอาด จิตที่ว่างที่ผ่องใส มีประโยชน์อย่างไร ? ที่บอก ให้ย้อนกลับไปพิจารณาถึงอารมณ์ต่าง ๆ ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตของเราด้วยจิต ที่ผ่องใสน้ี โดยให้จิตกว้างกว่าอารมณ์ต่าง ๆ ๆ เหล่าน้ัน อารมณ์เหล่านั้นเข้ามาปรุงแต่งจิตให้เศร้าหมองได้หรือเปล่า ? เราจงึ ตอ้ งเผลอหลงเขา้ ไปยดึ เอาวา่ เปน็ ตวั เราของเราแลว้ ทา ใหม้ คี วามทกุ ข์ เกิดข้ึน ? ? ๆ ขึ้นไป ? ? น่ีคือ สิ่งที่พึงสังเกต รู้อาการเกิดดับของ รูปนามที่ปรากฏเกิดข้ึนอยู่เป็นขณะ ๆ ยังต้องเจอสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ก�าลังหมุนเวียนเปล่ียนไปอยู่ ท�าอย่างไรถึงจะไม่ทุกข์กับอารมณ์เหล่านั้น มากเกินไป ? และอีกจุดหนึ่งท่ีส�าคัญเลยก็คือการรับรู้อารมณ์เหล่านั้นด้วยความรู้สึก พรอ้ มทจี่ ะเขา้ ใจในธรรมชาตคิ อื อื อื กฎไตรลกั ษณ์ กฎของธรรมชาตทิ มี่ คี วาม วาม วาม เปลย่ี นแปลงความเปน็ ไปอยู่ นนั่ เปน็ เปน็ เรอื่ งปกตเิ รอื่ รอื่ งธรรมดาของโลก อะไร ก็ตามที่ผ่านเข้ามาในชีวิตของเราก็ย่อมมีความเปล่ียนแปลงไปเป็น เรื่องปกติธรรมดา นี่คือกฎไตรลักษณ์ กฎไตรลักษณ์ กฎไตรลักษณ์ คือความเป็น อนิจจลักขณะ ทุกขลักษณะ และอนัตตลักษณะ คือการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ของอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอยู่รอบตัว แม้แต่รูปนามขันธ์ ๕ อันน้ีก็ไม่ได้ เป็นไปตามใจของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ของตนของตนอยู่
การก�าหนดรู้ถึงการเปล่ียนแปลงถึงกฎไตรลักษณ์นี่แหละเป็นวิธีการ พัฒนาปัญญา และเข้าใจ กฎไตรลักษณ์อย่างถ่องแท้ ไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ภายนอกหรือภายในก็ย่อมมี