Page 25 - สภาพจิต
P. 25

19
กล่ินที่สัมผัสทางจมูก แม้แต่ความคิดที่ปรากฏเกิดขึ้นมา ความชอบ-ไมช่ อบหรอื ยนิ ด-ี ไมย่ นิ นิ ดใี นอารมณน์ นั้ เกดิ ขนึ้ ทา ทา ทา ใหเ้ กดิ กดิ ความ ความ ความ ขุ่นมัวเศร้าหมอง เกิดปฏิฆะ เกิดเวทนาทางจิตท่ีเป็นฝ่ายอกุศลตามมา แต่ในขณะที่สภาพจิตมีความตั้งม่ัน มีความผ่องใส และกว้างไม่มีขอบเขต ลองพิจารณาดูอารมณ์ที่เข้ามากระทบทางตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ ว่า ต่างไปอย่างไร
การพจิ ารณาเปรยี บเทยี บอยา่ งนเี้ พอื่ ใหร้ วู้ า่ า่ เพราะเหตใุ ดบคุ คลจงึ ควรพัฒนาจิตของตน พัฒนาสติ-สมาธิ-ปัญญาของตนให้แก่กล้า การเจริญกรรมฐานจึงต้องพิจารณาให้เห็นถึงสัจธรรมความเป็นจริง เห็น เห็น ถึงกฎไตรลักษณ์ ความเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ความเป็น ความเป็น อนัตตา ความไม่มีตัวตน ความไม่มีเราไม่มีเขา แล้วจะเห็นได้อย่างไร ? แล้วดูเข้าไป ในจิตท่ีว่าง จิตยิ่งว่าง ยิ่งกว้างออกไป ยิ่งไม่มี ยิ่งไม่มี ตัวตน ตัวตน ยิ่งไม่มีตัวตนไม่มีเรา จิตยิ่งมีความผ่องใส ยิ่งมีความสะอาดขึ้น นั่นแหละคือการดูจิตในจิต ตรงนี้รู้ถึงจิตปรมัตถ์ เป็นสภาวธรรมล้วน ๆ ทเ่ี กดิ กดิ ขน้ึ ขน้ึ พจิ ารณาตอ่ ไปวา่ พอจติ มกี า า า า า า า า า า า ลงั มคี วามผอ่ งใสแบบนเี้ กดิ กดิ ขน้ึ ขน้ึ แลว้ ลองย้อนกลับไปทบทวนดูชีวิตของเรา อารมณ์ที่เคยเข้ามากระทบแล้ว ? เรา เรา เรา มีความขุ่นมัว เศร้าหมอง ? จริง ๆ แล้วสภาวธรรมเหล่านี้ก็ประกาศตนเอง ถ้าอยากมีความสุข ก็ต้องดูเข้าไปในจิตให้ชัด ละความเป็นตัวตน ละความเป็นเรา ยิ่งรู้เข้าไปในจิตที่ไม่มีตัวตน จิตยิ่งมีความผ่องใสขึ้น
































































































   23   24   25   26   27