Page 46 - สภาพจิต
P. 46

40
รู้สึกสงบ รู้สึกวุ่นวาย รู้สึกมีความสุข หรือรู้สึกเฉย ๆ ๆ ซึ่งเราจะรู้สึกได้ แต่ลักษณะของสภาพจิตท่ีจะปรากฏชัดแก่ผู้ปฏิบัติธรรมนั้น ไม่ใช่อยู่ ๆ ๆ สภาพจิตก็จะเป็นอย่างนั้นอย่างนี้โดยที่ไม่ได้ใส่ใจ เพราะนั่นเป็นสภาพจิตใจ ที่เป็นไปตามอารมณ์ที่เข้ามากระทบทางตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ ใจ แต่สภาพจิตที่พูดถึงน้ัน รู้อาการพระไตรลักษณ์ รู้การเกิดข้ึน-ต้ังอยู่-ดับไป ไม่ว่าจะเป็นอาการ ทางกาย ทางกาย เป็นเวทนา หรือเป็นอารมณ์ทางจิตท่ีเกิดข้ึนก็ตาม ยกตัวอย่างเช่น รู้อาการทางกาย รู้ รู้ รู้ รู้ รู้ ลมหายใจ รู้อาการพองยุบ ทั้งบัลลังก์หรือชั่วระยะหน่ึง แล้วจิตใจเกิดความรู้สึกสงบขึ้น น่ิงข้ึน มั่นคงขึ้น ตรงน้ันแหละคือลักษณะของสภาพจิตที่เกิดจากการก�าหนดรู้อารมณ์ปัจจุบัน ก็คือเกิดจากการเจริญภาวนา เกิดจากการปฏิบัติธรรมซึ่งเป็นผลท่ีเกิดขึ้น โดยตรง ถึงแม้ผู้ปฏิบัติจะเรียกไม่ถูกว่าเป็นสภาพจิต เป็นจิต หรือเป็นอะไร แต่เป็นลักษณะท่ีรู้สึกได้ เม่ือมีสติรู้อยู่กับปัจจุบันแล้วจิตใจรู้สึกสงบ รู้สึกมีความสุข รู้สึกมั่นคง รู้สึกต้ังมั่น นั่นคือลักษณะของสภาพจิตท่ีเกิดข้ึน ซึ่งส�าหรับผู้ปฏิบัติแล้วการดูจิตในจิตเป็นส่ิงส�าคัญ จุดเร่ิมต้นของการดูจิตในจิตจริง ๆ ๆ ก็คือลักษณะของสภาพจิตมี ความชัดเจนเด่นกว่าอาการของรูป อย่างเช่น ขณะที่จิตมีความสงบมาก ๆ ๆ ๆ หรอื หรอื มคี มคี วามผอ่ งใสมคี วามสขุ มาก มาก ๆ ๆ ๆ ๆ หรอื หรอื จติ ทร่ี สู้ สู้ กึ กึ เฉย นงิ่ ไมร่ สู้ สู้ กึ กึ ถงึ อาการ อาการ อาการ ของรูป อาการทางกายแค่รู้สึกเบา ๆ ๆ ๆ บาง ๆ ๆ ๆ แต่ลักษณะของสภาพจิตมี ความชัดเจน มีความสงบ มีความสุข มีความตั้งมั่น เมื่อลักษณะของสภาพจิต เด่นชัดขึ้นมาอย่างนี้ สภาพจิตมีความสงบ มีความสุข มีความต้ังมั่น หรือมีความผ่องใส

































































































   44   45   46   47   48