Page 48 - สภาพจิต
P. 48
42
มีการเปล่ียนแปลงอย่างไร กับในความสงบนั้นมีอะไรเปลี่ยนแปลง หรือเกิดดับอยู่ แตกต่างกันตรงที่ว่าบางขณะโยคีหรือผู้ปฏิบัติรู้สึกว่า นง่ั อยทู่ า่ า่ า่ มกลางความสงบ แลว้ ในความสงบนนั้ มอี ารมณอ์ ยา่ ยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ เกิดข้ึน เป็นเสียง เป็นความคิด เป็นเวทนา หรือเป็นแสงเป็นสี ไม่ว่า จะเกิดอยู่ข้างหน้าตัว อยู่ด้านข้างข้างบน ข้างหลัง หรือตรงไหนก็ตาม อารมณน์ นั้ นั้ จดั เปน็ เปน็ เปน็ อารมณป์ จั จบุ นั นั นั และสามารถเอามาเปน็ อารมณก์ อารมณก์ รรมฐาน รรมฐาน คอื ยกจติ ขน้ึ สวู่ ปิ สั สนา เอาสภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ นนั้ มาเปน็ มาเปน็ อารมณก์ อารมณก์ รรมฐาน รรมฐาน ต่อไป
การยกจิตข้ึนสู่วิปัสสนา ดบั ไปของอารมณท์ ป่ี รากฏขนึ้ ในความสงบเพราะฉะนนั้ การเอาสภาวธรรม มาเป็นอารมณ์กรรมฐานก็คือว่า ขณะท่ีโยคีรู้สึกว่านั่งอยู่ท่ามกลางความสงบ บริเวณรูปมีอาการกระเพ่ือม มีอาการไหว อาการเต้นของหัวใจเกิดขึ้นมา คือไม่รู้สึกว่ามีรูป ไม่รู้สึกว่ามีร่างกาย ไม่มีตัว แต่รู้สึกถึงอาการไหว ๆ เหมือนอาการเต้นของหัวใจเกิดข้ึน และรู้สึกชัดว่าปรากฏเกิดขึ้นอยู่ ในบรรยากาศของความสงบ ? ให้ผู้ปฏิบัติตามก�าหนดรู้อาการเกิดดับน้ันต่อไปจนอาการเกิดดับน้ันส้ินสุดลง เหมือนการตาม เหมือนการตาม นั่นคือหลักการ เพราะหลักของ วิปัสสนากรรมฐาน แต่ละอารมณ์ท่ีเกิดข้ึน
และอีกอย่างหน่ึง เมื่อกี้ท่ีบอกว่าความรู้สึกที่สงบ เมื่อเข้าไปรู้แล้ว เหน็ ความสงบขยายออก กวา้ งออกไป ๆ ๆ ๆ กบั ยงิ่ เขา้ ไปดใู นความรสู้ กึ ทสี่ งบ งบ งบ งบ งบ งบ งบ หรือในจิตท่ีสงบ ความสงบย่ิงสงบมากขึ้น ๆ ๆ ๆ หนาแน่นขึ้น ใสขึ้น สงบลึกลงไป ๆ ๆ ๆ