Page 50 - สภาพจิต
P. 50
44
กฎไตรลักษณ์อีกข้อหน่ึงท่ีพึงพิจารณาเพื่อจะได้ละจะได้ไม่หลงผิด ก็คือ ไม่ว่าจะเป็นสภาพจิตที่สงบ จิตที่มีความสุข จิตที่มีความผ่องใส จิตดวงน้ันบอกว่าเป็นเรา เป็นเขา เปน็ เปน็ ใครหรอื เปลา่ ? อนั นค้ี อื อื พจิ ารณาถงึ ความเปน็ จรงิ ถงึ ถงึ สจั ธรรมทเ่ี กดิ ขนึ้ ซ่ึงผู้ปฏิบัติพึงพิจารณาเสมอ ๆ เพ่ือละเพื่อคลายความเข้าใจผิด ความหลงผิดในจิตที่เกิดข้ึนว่าเป็นตัวเรา เป็นของเรา ว่าจิตเราเป็นแบบนี้ เราก็เป็นแบบนี้ จริง ๆ แล้วโดยสมมติก็รู้ชัดในลักษณะอย่างนั้นนั่นแหละ แต่โดยสภาวะท่ีเป็นปรมัตถ์ ถึงความเป็นอนัตตาบ่อย ๆ ๆ จะได้ไม่หลง แต่จริง ๆ ๆ การเปล่ียนแปลงชัดเจน โยคีก็จะไม่ค่อยหลงติดหรอก ไม่มีตัวตนจะได้ละอัตตา ละความเป็นเรา ความเป็นเราจะลดลงน้อยลง ความถือตนจะน้อยลง จะได้เห็นชัดเจนว่าน่ีคือธรรมชาติของจิตดวงหนึ่ง
ย่ิงไม่มีตัวตนนี่แหละจิตจะยิ่งสงบ จิตท่ีไม่มีเราไม่ได้บอกว่าเป็น เราน่ีแหละถึงว่างถึงสงบถึงมีความสุขได้ เมื่อไหร่ท่ีเป็นตัวเราของเราก็จะ เป็นของหนัก เป็นภาระเกิดข้ึน ความสว่างความผ่องใสก็ลดลงน้อยลง การพิจารณาก�าหนดรู้ถึงความเป็นอนัตตาจะท�าให้ผู้ปฏิบัติหรือโยคี ๕ น้ีเป็นอนัตตา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา และจะได้เข้าถึง เข้าใจ พระพุทธองค์จึงทรงให้พิจารณาถึงความเป็นอนัตตา เพราะการเห็นถึง ความเป็นอนัตตานี่แหละ จิตจึงมีความอิสระเกิดขึ้นมาได้ จิตจึงมีความสงบ เกิดข้ึนมาได้ เกิดข้ึนมาได้ จิตจึงมีความผ่องใสเกิดข้ึนมาได้ นี่เป็นการพิจารณาธรรม จากสภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ และเปน็ ตวั บง่ บอกวา่ การปฏบิ ตั ขิ องตนนนั้ เปน็ เปน็ ไป ตามธรรมะทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงตรสั กบั ภกิ ษทุ ง้ั หลายอยเู่ สมอ ๆ หรอื เปลา่