Page 51 - สภาพจิต
P. 51

45
สภาวธรรมที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งท่ีผู้ปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเองด้วยการเข้าไป น่ีคือการพิจารณาสภาพจิตที่ไม่มีตัวตนน้ันดีอย่างไร
ไม่ใช่แค่รู้ว่าไม่มีตัวตน แต่ลองสังเกตดี ๆ จิตที่ไม่มีตัวตนน้ันมีลักษณะอย่างไร พิจารณาดูว่า ย่ิงเข้าไปรู้ ยิ่งเห็น ความไม่มีตัวตน ย่ิงเห็นว่าไม่บอกว่าเป็นเรา แล้วสภาพจิตเป็นอย่างไร มคี มคี มคี วามผอ่ งใสกวา่ เดมิ เดมิ เดมิ มคี มคี มคี วามสวา่ งกวา่ เดมิ เดมิ เดมิ มคี มคี มคี วามเบากวา่ เดมิ เดมิ เดมิ ? ยงิ่ เขา้ ไป ย่ิงรู้ชัดถึงความไม่มีตัวตน จิตยิ่งมีความผ่องใสมากข้ึน เบามากขึ้น ยิ่งเห็นถึงความไม่มีเรา ไม่ได้บอกว่าเป็นใครมากเท่าไหร่ จิตยิ่งสะอาดข้ึน นั่นคือการดูจิตในจิต เห็นถึงความเปล่ียนแปลงความเปล่ียนไป จริง ๆ แล้วสภาวธรรมเหล่าน้ีนี่แหละจะเป็นตัวบอกว่า เมื่อไหร่ที่ผู้ปฏิบัติ เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของสภาพจิตตนเอง จิตย่ิงผ่องใส ยิ่งโล่ง ยิ่งโปร่ง หรือยิ่งสงบมากข้ึน โดยท่ีไม่ยึดติดความสงบในเบ้ืองต้นอยู่ น่ันจะท�าให้จิตผู้ปฏิบัตินั้นพัฒนาข้ึนไปในลักษณะท่ีมีความสงบมากขึ้น สติมีความตั้งมั่น ตื่นตัวมากข้ึน แก่กล้าขึ้น ปัญญาท่ีพิจารณาอาการ พระไตรลักษณ์ก็จะมีความชัดเจนมากยิ่ง ๆ ขึ้นไปอีก
ในขณะท่ีปฏิบัติผู้ปฏิบัติ เห็นสภาพจิตของตนมีความสงบ มีความผ่องใส มีความตั้งมั่น มีความสุข มีความสว่าง หรือมีความโปร่งความเบาเกิดข้ึน เมื่อรู้ชัดว่าลักษณะของ สภาพจิตใจเป็นอย่างไร เวลายกจิตก็จะยกได้ง่าย ยกจิตขึ้นสู่ความว่าง ยกจิตข้ึนสู่ความสงบ ยกจิตขึ้นสู่ความโล่ง ยกจิตข้ึนสู่ความโปร่ง ยกจิตขึ้น ยกจิตขึ้น ยกจิตขึ้น ยกจิตขึ้น สู่ความสุข ยกจิตขึ้นสู่ความเบา ยกจิตข้ึนสู่ความต้ังมั่น ยกจิตข้ึนสู่ ยกจิตข้ึนสู่ ยกจิตข้ึนสู่ ยกจิตข้ึนสู่ ความตื่นตัว อย่างใดอย่างหน่ึงก็ตาม เมื่อผู้ปฏิบัติเคยเห็นว่าจิตตนเป็นอย่างไร แล้ว ก็สามารถยกจิตขึ้นสู่ลักษณะของจิตนั้น ๆ ได้ ถ้ามีสภาพจิตที่สงบ































































































   49   50   51   52   53