Page 56 - สภาพจิต
P. 56

50
เกิดขึ้น แบบนี้ก็มี ความรู้สึกท่ีไม่มีตัวตน เป็นคนละส่วนแล้ว แต่นั่นคือความละเอียดของจิต พิจารณายังไม่รอบ และเม่ือไหร่ท่ีไม่ได้ด่ังใจความเป็นเราก็เกิดขึ้น ที่อาจารย์พูดเสมอว่า “ธัมมวิจยะ” การพิจารณาสภาวธรรม การวิจัย การวิเคราะห์ ณ ณ ณ ปัจจุบัน ว่าสภาวธรรมที่ก�าลังปรากฏเกิดข้ึนนี้เป็นอย่างไร การพิจารณาสภาวธรรมคือตัวความคิดที่เกิดขึ้นมา ถ้ามีเจตนาที่ จะคิด สิ่งหนึ่งที่ต้องถามตนเองก็คือ คิดแล้วดี/ไม่ดี เป็นประโยชน์/ไม่ใช่ ประโยชน์ ประโยชน์ ประโยชน์ พระพุทธองค์ทรงตรัสว่า เพ่ือประโยชน์อะไรที่จะพูดอย่างนั้น เพื่อ ประโยชนอ์ ประโยชนอ์ ะไรถงึ ะไรถงึ คดิ อยา่ อยา่ งนนั้ งนนั้ เหน็ ประโยชนอ์ ประโยชนอ์ ะไรถงึ ะไรถงึ ทา อยา่ อยา่ งนนั้ งนนั้ อนั นเี้ ปน็ ๆ เพราะฉะน้ัน เกิดข้ึนในขณะที่เจริญกรรมฐานหรือพิจารณาอารมณ์ท่ีเป็นบัญญัติ พิจารณาเพ่ือประโยชน์อะไร เห็นประโยชน์อะไรถึงพิจารณาคลุกคลีอย่างนั้น/ ตามกา�หนดรเู้รอื่งราวนน้ั?นเี่ปน็สงิ่สา�คญัเพราะไมใ่ชว่า่ความคดิทกุอยา่ง เป็นเรื่องไร้สาระหรือไม่เกิดประโยชน์ ๆ ท่ีต้องรับผิดชอบอยู่ เพราะฉะน้ัน ความคิดเหล่าน้ีก็เกิดขึ้นมาเป็นเรื่องปกติธรรมดา
การที่เห็น ความคิดเกิดอยู่ในความสงบ และพิจารณาอย่างไม่มีตัวตน จะเป็น เหตุปัจจัยที่ส�าคัญท�าให้ผู้ปฏิบัติเข้าใจในเรื่องราวท่ีก�าลังคิดอยู่น้ันได้ง่ายข้ึน ที่พูดเสมอว่าเมื่อจิตมีความสงบ มีสมาธิ จิตใจเป็นระเบียบ ปัญญาก็จะเกิดขึ้นมา เข้าใจในเรื่องราวน้ันได้ง่ายขึ้น นี่แหละคือเหตุปัจจัยอย่างหนึ่งที่บอกว่า
































































































   54   55   56   57   58