Page 100 - เกณฑ์วิธีและแนวปฎิบัติตามคำสั่งการแพทย์
P. 100
การใชBสายรัดหBามเลือด (Tourniquet application)
1. ตรวจสอบสภาพความพร5อมของอุปกรณ \
1.1. แถบสายรัดยังอยู7ในสภาพดีไม7เปã±อยยุ7ย
5
1.2. กลไกการขันเพื่อกระชับสายรัดด5านในยังใช5ได แท7งขันไม7กรอบแตก
1.3. สายรัดถูกร5อยผ7านหัวเข็มขัดทุกด5าน
1.4. การรูดสายรัดสามารถทำได5คล7องไม7ติดขัด
2. พิจารณาบาดแผลแล5ว เห็นว7าจำเปLนต5องใช5สายรัดห5ามเลือด
3. ให5ผู5ช7วยเหลือใช5เข7าของตนเองกดลงบนตำแหน7งของหลอดเลือดแดงที่ทอดอยู7เหนือตำแหน7งของ
บาดแผล เช7นที่ขาหนีบหรือรักแร5 เพื่อช7วยห5ามเลือดชั่วคราวระหว7างที่เตรียมสายรัดห5ามเลือด
ุ
็
ี
7
ี
ื
5
ู
7
5
4. ในกรณท่ไมสามารถระบหรือมองเหนบาดแผลไดชดเจน ใหทำการรัดสายรัดหามเลอดในตำแหนงที่สง
5
ั
ที่สุดและรัดให5แน7นที่สุด (High and Tight) ที่รยางค\นั้น โดยไม7เสียเวลาถอดหรือตัดเสื้อผ5าเพื่อหา
บาดแผล
ั
4.1. หากบาดแผลอยู7ที่ขา ให5คลายสายรัดห5ามเลือดให5เปLนเส5นตรง หงายสายรัด แล5วสอดหัวเข็มขด
ของสายรัดห5ามเลือดเข5าช7องว7างใต5ข5อพับเข7า เลื่อนให5สูงที่สุดจนเกือบชิดขาหนีบ (ไม7ควรสวม
สายรัดห5ามเลือดในลักษณะที่เปLนบ7วงหรือยกขาขึ้น เนื่องจากผู5ปHวยอาจมีกระดูกหัก แล5วเกด
ิ
5
อันตรายต7อหลอดเลือดและเส5นประสาทได)
4.2. หากบาดแผลอยู7ที่แขน ให5จัดสายรัดห5ามเลือดในลักษณะของบ7วง แล5วคล5องแขนให5หางของสาย
รัดห5ามเลือดหันมาทางผู5ช7วยเหลือ เพื่อให5ดึงรูดได5ถนัด เลื่อนสายรัดให5สูงที่สุดจนเกือบชิดรักแร 5
5. หากสามารถมองเห็นบาดแผลได5ชัดเจน ให5รัดสายรัดห5ามเลือดเหนือต7อบาดแผล 2-3 นิ้ว (5-10
เซนติเมตร)
6. ตรวจสอบในกระเปµากางเกงของผู5บาดเจ็บว7าไม7มีวัตถุของแข็ง เช7น กระเปµาสตางค\ โทรศัพท\มือถอ
ื
พวงกุญแจ ที่อาจกดกับตัวผู5บาดเจ็บ
ั
ื
7
ู
7. รดสายรดจนกระชบ แลวตรงแถบยดตนต∂กแก ขนแทงขนจนเลอดหยด แลวคลำชพจรสวนปลายไมได 5
7
7
ี
ุ
5
ั
ึ
ึ
5
ั
ั
ี
ุ
ขัดแท7งขันไว5กับสลัก เพื่อไม7ให5แท7งขันคลายเกลียวออก เก็บปลายสายรัด
8. บันทึกเวลาที่เริ่มใช5สายรัดห5ามเลือด
9. หากขันสายรัดห5ามเลือดอันแรกแล5วพบว7า ยังไม7สามารถห5ามเลือดได5สนิท ให5ใช5สายรัดห5ามเลือดอก
ี
อัน รัดเหนือสายรัดอันแรก แล5วทำการขันจนเลือดหยุด
10. ไม7คลุมผ5าห7มบนตำแหน7งที่ขันสายรัดห5ามเลือด เพื่อปzองกันการหลงลืม
11. อาจพิจารณาแจ5งแพทย\อำนวยการปฎิบัติการเพื่อขอให5ยาแก5ปวดแบบฉีดในกรณีที่ไม7มีข5อห5าม
12. ห5ามคลายสายรัดห5ามเลือดเปLนอันขาด
แนวปฏิบัติสำหรับหน.วยปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย7 เขตสุขภาพที่ 2 พ.ศ. 2565 85
OFFLINE EMS MEDICAL PROTOCOLS OF PUBLIC HEALTH REGION 2