Page 95 - เกณฑ์วิธีและแนวปฎิบัติตามคำสั่งการแพทย์
P. 95
ภาคผนวกที่ 7: การประเมินความเจ็บปวดดcวย
Numerical rating scale
วิธีการประเมินความปวด
การประเมินความปวดอย7างครอบคลุม จะเปLนพื้นฐานที่นำไปสู7การรักษาพยาบาลที่เหมาะสม มี
ี
ี
5
5
ิ
7
ิ
ี
ู
ุ
ู
5
ี
5
ประสทธภาพและมผลขางเคยงนอยท่สด ขอมลท่จะนำไปประเมนเปนขอมลท่ไดจากคำบอกเลาของผ5ปวย
L
ู
5
ี
ิ
H
ื
ซึ่งเปLนข5อมูลที่เชื่อถือได5มากที่สุด เพราะความปวดเปLนความรู5สึกส7วนตัวที่ไมมีใครสามารถบอกหรอ
7
บรรยายแทนกันได5ดีเท7าตัวผู5ปHวยเอง นอกจากนี้ยังสามารถสังเกตได5จากอัตราการเต5นของหัวใจ อัตราการ
หายใจ ความดันโลหิต เหงื่อออกตัวเย็น หรือจากพฤติกรรมที่ผู5ปHวยแสดงออก เช7น การเคลื่อนไหว สีหนา
5
ท7าทาง หรือการส7งเสียง
การวัดระดับความปวด มีหลายวิธีแต7วิธีการบอกความรู5สึกเปLนตัวเลข (Numerical rating
ั
scales: NRS) น7าจะเหมาะสำหรบ การดูแลผู5ปHวยนอกโรงพยาบาล ให5สอบถามผู5ปHวยว7าถ5าไม7ปวดเลยแทน
ด5วยเลข 0 และปวดรุนแรงมากแทนด5วยเลข 10 อย7างใดอย7างหนึ่งให5ผู5ปHวยเลือกว7าปวดตอนนี้อยู7ที่เลขใด
ภาพแสดง 5: ระดับความปวด
ระดับความรุนแรงของการปวด
ระดับปวดน5อย คะแนน 1-3
ระดับปวดปานกลาง คะแนน 4-6
ระดับปวดมาก คะแนน 7-10
หากคะแนนมากกว7าหรือเท7ากับ 6 ขึ้นไป ถือว7าควรได5รับการดูแล อาจใช5ยาแก5ปวดร7วมด5วยซึ่งไม 7
ควรรอให5ถึง 10 หรือจนผู5ปHวยบอกว7าทนไม7ไหวเพราะการรักษาความปวดตั้งแต7แรกๆ เปLนวิธีการที่ถูกต5อง
และให5ผลดีทั้งทางด5านร7างกายและจิตใจ
80 แนวปฏิบัติสำหรับหน.วยปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย7 เขตสุขภาพที่ 2 พ.ศ. 2565
OFFLINE EMS MEDICAL PROTOCOLS OF PUBLIC HEALTH REGION 2