Page 83 - EBOOK-semifinal_Neat
P. 83

john dalton (1808)                                     Thomson (1904)







                       -สสารประกอบขึ้นจากอนุภาคที่เล็ก

                       ที่สุด เรียกวา อะตอม มีลักษณะเปนทรง
                                                                     -อะตอมเปนทรงกลมที่เปนกลางทางไฟฟา
                                                                    ซึ่งประกอบขึ้นดวยอนุภาคที่มีประจุบวกและ
               -อะตอมไมสามารถสรางขึ้นใหม หรือทําลายได
              กัน     กลมตันที่ไมสามารถแบงแยกไดอีก             -ประจุบวกและประจุลบของอะตอมจะกระจาย
                                                                    อนุภาคที่มีประจุลบ ซึ่งมีคาประจุไฟฟาเทากัน
               -อะตอมของธาตุชนิดเดียวกัน จะมีสมบัติเหมือน

              -อะตอมของธาตุตางชนิดกัน จะมีสมบัติตางกัน
                                                                  ตัวอยูทั่วทั้งอะตอมอยางสมํ่าเสมอ โดย
                                                                 บวก
            เกิดเปนสารประกอบ
             -เมื่ออะตอมของธาตุตางชนิดกันมารวมตัวกันจะ
                                                                 ประจุลบจะฝงตัวอยูในเนื้ออะตอมที่มีประจ
                                                                                                     ุ
                                                                 Niels Bohr (1913)
         Rutherford (1911)






                                                                                                                 ี
                                                                           -อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสเปนวงโคจร โดยม
                                                                          ขนาด และคาพลังงานที่แนนอน
                    -ภายในอะตอมเปนพื้นที่วางเปนสวนใหญ
                                   ่                
                                                                    -ขนาดวงโคจรจะสัมพันธกับระดับพลังงาน
                                                                  นิวเคลียส
                   เนื่องจากโปรตอนซึงมีประจุเปนบวกนั้นรวมตัว
                                                                        ที่ระดับพลังงานตํ่า วงโคจรจะมีขนาดเล็ก และอยูใกลกับ
                   กันอยางหนาแนนอยูตรงกลางของอะตอม
                  เรียกกวานิวเคลียส
                                                                 จากนิวเคลียสมากขึ้น
                                                                       เมื่อระดับพลังงานเพิ่มขึ้น วงโคจรจะมีขนาดใหญขึ้น และอยูหาง
            -นิวเคลียสของอะตอมนั้นมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบ
           กับขนาดทั้งหมดของอะตอม ถึงแมวานิวเคลียสจะม
                                                   ี           ขึ้น(ไกลจากนิวเคลียส)
           ขนาดเล็กแตก็มีมวลสูงมาก
                                                                 -อิเล็กตรอนสามารถเคลื่อนที่ขามจากระดับพลังงานหนึ่งไปยังระดับ
                                                                พลังงานหนึ่งได เมื่อไดรับหรือสูญเสียพลังงาน
          -อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยูรอบๆนิวเคลียส และ
         เคลื่อนที่เปนบริเวณกวาง
                                                                    *เมื่อไดรับพลังงานอิเล็กตรอนจะขึ้นไปยังระดับพลังงานที่สูง
               Erwin Schrödinger                              ลง(ใกลนิวเคลียส)
                                                                   *เมื่อสูญเสียพลังงานอิเล็กตรอนจะลงมายังระดับพลังงานที่ตํ่า
                    (1926-NOW)

             -อิเล็กตรอนมีสมบัติเปนทั้งอนุภาคและคลื่น ทําใหไมสามารถระบุตําแหนงที่แนนอนของอิเล็กตรอนไดแตสามารถระบ ุ
             ไดวาบริเวณใดที่มีโอกาศพบอิเล็กตรอน

             -อิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยูรอบๆนิวเคลียสในลักษณะของกลุมหมอกที่มีประจุเปนลบ
             -ยิ่งเขาใกลนิวเคลียสโอกาศที่พบอิเล็กตรอนยิ่งสูงขึ้น

             -กลุมหมอกหรือบริเวณที่มีโอกาศพบอิเล็กตรอน เรียกวา ออรบิทัล

     รูปโดย https://medium.com/@Intlink.edu/A1-4104097f6451                        นางสาว ชนัดดา สามิภักดิ์ ม.6/3 เลขที่ 23
    รูปโดย http://thn24922-chem4.blogspot.com/p/blog-page_6.html
                                                            83
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88