Page 8 - หนังสือเรียน
P. 8

๓. การตั้งชื่อเรื่อง ควรตั้งชื่อเรื่องใหดึงดูดความสนใจของผูอาน ตรงกับเรื่องที่เขียน เราใจให 

                   อยากอาน โดยใชประโยคคําถาม คําพรรณนาใหเกิดภาพ เกิดอารมณ ใชคําคลองจอง หรือ

                   เลนเสียง ใชคําคม สํานวน คําพังเพย คํากลอน และสุภาษิต

               ๔. การเขียนโครงเรื่อง

                   ๔.๑ การรวบรวมความคิด ผูเขียนจะตองพิจารณาเบื้องตนวา เรื่องที่เขียนควรมีเนื้อหา

                         อะไรบาง เมื่อคิดไดใหจดไวทุกประเด็น ขั้นตอนนี้ยังไมไดมีการกลั่นกรองเนื้อหาสาระและ

                         การลําดับเรื่องราว


                   ๔.๒ การคัดเลือกประเด็นความคิด คัดเลือกเฉพาะประเด็นที่เกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียน

                   ๔.๓ การจัดลําดับเนื้อหา ควรนําประเด็นเรื่องตาง ๆ มาจัดลําดับตามเหตุและผล ตามเวลา

                         ตามเหตุการณกอนหลัง และตามความสําคัญ ทําใหขอเขียนชัดเจนและเขาใจงาย

                                                              
               ๕. การทบทวนและปรับปรุงโครงเรื่องใหสมบูรณ ควรทบทวนโครงเรื่องที่เขียนไววา มีประเด็น
                   ความคิดครบถวนหรือไม แลวพิจารณาตัดหรือเสริมใหเหมาะสม

                                                 ู
               ๖. การแสวงหาและรวบรวมความร โดยคนควาหาขอเท็จจริง หลักฐาน และรายละเอียดตาง ๆ
                   จากแหลงความรู เชน หนังสือพิมพ วารสาร การสัมภาษณผูรูผูเชี่ยวชาญ การสนทนากับบุคคลอื่น

                   การบันทึกขอมูลเหตุการณจากสถานการณจริง และสื่อขอมูลสารสนเทศตาง ๆ





                  การเรียบเรียง





               การเขียนเรียงความมีองคประกอบ ๓ สวน คือ คํานํา เนื้อเรื่อง และสรุป


               ๑. คํานํา เปนสวนแรกที่บอกใหผูอานทราบวา ผูเขียนจะเขียนเรื่องอะไร  เพื่อนําใหผูอานสนใจอาน

                   เรื่องตอไป เชน ควรเริ่มเรื่องอยางตรงไปตรงมา โนมนาวและชักจูง หรืออาจใหแงคิดคติเตือนใจ

                   และใหคําจํากัดความ เปนตน













                                                            ๓
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13