Page 9 - หนังสือเรียน
P. 9

ตัวอยาง คํานําที่เริ่มดวยขอความที่ใหแงคิดคติเตือนใจ




                     ในชีวิตคนเรามีหลายครั้งที่จะตองพบปญหาเฉพาะหนา คนที่แกไขใหผานพนไปไดดวยด  ี

               ถือวามีความสามารถ แมในการทํางานก็ตองการความสามารถขอนี้ดวย เพราะไมวาจะเตรียมการ

               มาดีเพียงใด  หรือมีความรูขนาดไหนก็ตาม  ก็อาจมีเรื่องที่ไมคาดคิดเกิดขึ้น  จะเปดตําราหรือ

               สอบถามใครก็คงไมทันการ


                                                                          (วารสารอินทาเนีย, ๒๕๕๗ :๗๗)




               ๒. เนื้อเรื่อง เปนสวนที่สําคัญที่สุดของเรียงความ เพราะเปนสวนที่เสนอความรู ขอเท็จจริง ขอคิด

                   ความเขาใจ  ทรรศนะ  เหตุผล  อารมณ  และความรูสึกของผูเขียนใหแจมแจง  โดยอาจจะยก
                                                       
                   ตัวอยางหลักฐาน  และประสบการณของผูเขียนมาสนับสนุนเรื่องที่เขียน   เรียงความที่ดีตองม ี

                   เนื้อหาดี มีสาระนารูคุณคาทางปญญาพรอมดวยขอมูลที่ถูกตอง แมนยํา


               ๓. สรุป เปนสวนสุดทายของเรียงความ  ที่ผูเขียนจะเนนความรูความคิด   หรือประเด็นสําคัญของ

                   เรื่องที่เขียนอีกครั้งหนึ่ง การสรุปควรมีเนื้อหาสอดคลองกับคํานําและประเด็นของเรื่อง ยอหนา

                   สรุปควรใหมีใจความกระชับ ประทับใจผูอาน







               ตัวอยาง สรุปดวยคําถามใหผูอานนําไปคิดไตรตรอง




                     ในขณะที่นักเรียนยังไมรูจักเลือกอานหนังสือเพื่อประโยชนดังกลาวไดเองครูและผูปกครอง

               นาจะมีสวนชวยไดมาก แตปญหาอยูที่วาครูและผูปกครองกําลังอานอะไรและอานอยางไรนี่ส ิ



                                                                              (กุสุมา รักษมณี, ๒๕๕๗ : ๑๕๓)













                                                            ๔
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14