Page 111 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 111
6.1 การพัฒนาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล
หลักกำรทำงเศรษฐศำสตร์ก�ำหนดให้กำรพัฒนำเทคโนโลยี (Technology
Development) เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ส่งผลต่อกำรพัฒนำของมนุษยชำติอย่ำงก้ำวกระโดด
กำรพัฒนำเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมมำกที่สุดตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบันได้แก่เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) ซึ่ึ่งเป็นกำรใช้รหัสดิจิทัลทดแทน
สิ่งที่มีอยู่ในโลกจริงเพื่อเก็บและวิเครำะห์ข้อมูล รวมถึงท�ำให้กำรส่งผ่ำนข้อมูลสำมำรถ
ท�ำได้ง่ำยและรวดเร็ว ดังนั้น เทคโนโลยีดิจิทัลจึงเป็นเทคโนโลยีพื้นฐำนในยุคปัจจุบัน
ผนวกกับระบบกำรสื่อสำรโทรคมนำคมเป็นช่องทำงในกำรส่งผ่ำนข้อมูลดิจิทัลเพิ่มขีด
ควำมสำมำรถและประสิทธิภำพในกำรน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมำใช้ประโยชน์ได้อย่ำงกว้ำง
ขวำงกว่ำเดิม กำรพัฒนำเทคโนโลยีกำรสื่อสำรแบบไร้สำยไปสู่ยุคที่ 5 (5G) ได้รับกำร
ออกแบบเพื่อให้สำมำรถส่งผ่ำนข้อมูลดิจิทัลได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ รองรับกำรใช้งำน
เทคโนโลยีดิจิทัลในหลำกหลำยรูปแบบ นอกจำกเพื่อรองรับกำรติดต่อสื่อสำรของมนุษย์
(Human-centric Communications) แล้ว ยังถูกพัฒนำเพื่อรองรับกำรสื่อสำรของ
สรรพสิ่ง (Machine-centric Communications) หรือที่เรียกว่ำ Internet of things
(IoTs) และน�ำไปสู่กำรน�ำข้อมูลจ�ำนวนมำกที่ได้รับ (Big Data) ไปใช้ประโยชน์โดยกำร
วิเครำะห์ด้วยปัญญำประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) คุณสมบัติที่ส�ำคัญที่
แตกต่ำงจำกเทคโนโลยีสื่อสำรโทรคมนำคมอื่น ๆ ของเทคโนโลยี 5G ได้แก่
ความเร็วสูง (Enhanced Mobile Broadband: eMBB) เป็นคุณสมบัติส�ำคัญ
ที่ขับเคลื่อนให้เกิดกำรใช้งำน 5G รวมทั้งจูงใจให้เกิดกำรใช้งำนโทรศัพท์เคลื่อนที่อย่ำง
ทั่วถึงและครอบคลุมกว่ำเดิม ทั้งยังช่วยเพิ่มควำมจุ (Capacity) ในกำรรับส่งข้อมูล
จ�ำนวนมำกผ่ำนอุปกรณ์ต่ำง ๆ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในพื้นที่ขนำดเล็ก
ความหน่วงต��า (Ultra-Reliable Low-Latency Communication: URLLC)
ส่งผลให้กำรส่งข้อมูลใช้เวลำจำกต้นทำงไปยังปลำยทำงน้อยที่สุด ซึ่ึ่งจะเป็นประโยชน์
ต่อกำรส่งข้อมูลแบบทันท่วงที (Real-time) เช่น ระบบควบคุมยำนพำหนะไร้คนขับ
ระบบอัตโนมัติ และกำรแพทย์ทำงไกล เป็นต้น
ความสามารถีในการเชื�อมต่ออุปกรณ์จ�านวนมากในเวลาเด้ียวกัน (Mobile
Machine Type Communications: mMTC) 5G สำมำรถรองรับกำรเชื่อมต่ออุปกรณ์
ได้นับล้ำนชิ้นในพื้นที่ 1 ตำรำงกิโลเมตร จึงท�ำให้สำมำรถรองรับกำรเชื่อมต่อของ
อุปกรณ์และกำรท�ำงำนของ IoTs ได้เป็นอย่ำงดี
นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 63 109