Page 108 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 108
ภำพที่ 6-1 สถำนภำพของประเทศไทยด้ำนเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม
ที่มำ: IMD, 2563
แม้ว่ำรัฐบำลจะเร่งพัฒนำประเทศสู่เศรษฐกิจดิจิทัลตำมนโยบำย Thailand 4.0 แต่ระดับ
ขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันด้ำนดิจิทัลตำมภำพที่ 6-1 พบว่ำ ในปี 2563 ประเทศไทยยังคงอยู่ใน
ล�ำดับที่ 39 ซึ่ึ่งยังเป็นล�ำดับเดิมในห้วงห้ำปีที่ผ่ำนมำ ซึ่ึ่งหำกจะเพิ่มขีดควำมสำมำรถด้ำนกำรแข่งขัน
สำมำรถท�ำได้โดยปรับปรุงด้ำนต่ำง ๆ เพิ่มขึ้น เช่น กำรพัฒนำบริกำรสำธำรณะของภำครัฐโดยใช้ระบบ
ดิจิทัล และกำรแก้ไขเรื่องกำรละเมิดลิขสิทธิ� เป็นต้น ในขณะที่กำรจัดล�ำดับด้ำนกำรดึงดูดและรักษำ
บุคลำกรที่มีศักยภำพ (Talent) ซึ่ึ่งพิจำรณำจำกตัวชี้วัด 3 ด้ำนคือ กำรลงทุนและพัฒนำทรัพยำกร
มนุษย์ (Investment & Development) ควำมสำมำรถในกำรดึงดูดบุคลำกรที่มีศักยภำพจำกภำยนอก
ประเทศ (Appeal) และควำมพร้อมของบุคลำกรที่มีอยู่ในประเทศ (Readiness) มีล�ำดับลดลง 6 ล�ำดับ
จำกล�ำดับที่ 37 เป็น ล�ำดับที่ 43 ดังนั้นจึงมีควำมจ�ำเป็นต้องเร่งลงทุนในกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์
ซึ่ึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญในกำรพัฒนำประเทศในโลกยุคใหม่เพื่อให้มีทักษะรองรับกำรพัฒนำด้วยเทคโนโลยี
ดิจิทัลและนวัตกรรม
ประเทศไทยเปลี่ยนผ่ำนจำกเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนกำรพัฒนำโดยอำศัยปัจจัยพื้นฐำนเป็นหลัก
(Factor Driven) เข้ำสู่เศรษฐกิจอุตสำหกรรมและเศรษฐกิจสร้ำงสรรค์ที่ขับเคลื่อนกำรพัฒนำด้วย
ประสิทธิภำพ (Efficiency Driven) โดยปัจจุบันก�ำลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเข้ำสู่
เศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ที่ขับเคลื่อนกำรพัฒนำด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล (Digitally Driven) ควำมส�ำเร็จ
ของกำรพัฒนำขึ้นอยู่กับกำรปรับตัวของทุกภำคส่วนในกำรใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นกลไกส�ำคัญในกำร
ขับเคลื่อน กำรใช้ประโยชน์จำกข้อมูล (Data Driven) เพื่อใช้ในกำรวิเครำะห์ในเชิงบริหำรและกำรสร้ำง
นวัตกรรม
106 ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 - 2570)