Page 64 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 64

3.1   การพัฒนาเศรษฐกิจมหภาค

                       ประเด็นปัญหา

                       ประเด็นปัญหำที่ส�ำคัญด้ำนเศรษฐกิจมหภำคในระยะ 5 ปีข้ำงหน้ำ มี 6 ประเด็นส�ำคัญ ได้แก่
                       1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ วิกฤติกำรเงินโลก (ช่วงปี 2552) และสงครำมทำงกำรค้ำ

                ระหว่ำงสหรัฐอเมริกำกับจีน ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยขยำยตัวในอัตรำที่ชะลอตัวลง ซึ่ึ่งพบว่ำมีกำรชะลอตัว
                ในทุกองค์ประกอบ ทั้งทำงด้ำนกำรส่งออก กำรลงทุน และกำรบริโภค และในปี 2563 เศรษฐกิจไทย
                ปรับตัวลดลงเนื่องจำกกำรแพร่ระบำดของโควิด-19 ซึ่ึ่งขณะนี้สถำนกำรณ์ดังกล่ำวยังไม่คลี่คลำย และ
                มีผลกระทบอย่ำงรุนแรงในวงกว้ำงต่อระบบเศรษฐกิจของไทย

                       2. โครงสร้างการผลิต กำรพึ�งพำภำคกำรส่งออกในสัดส่วนที่สูง ขณะที่สินค้ำส่งออกส่วนใหญ่

                มีสัดส่วนของวัตถุดิบน�ำเข้ำจำกต่ำงประเทศสูง มูลค่ำเพิ่มจำกกำรส่งออกจึงไม่ได้สร้ำงรำยได้ให้กับ
                คนไทยเท่ำที่ควร รำยได้ของประชำชนในภำคเกษตรมีสัดส่วนน้อยกว่ำรำยได้ในภำคอุตสำหกรรมและ
                บริกำร อันเนื่องมำจำกผลิตภำพกำรผลิตอยู่ในระดับต�่ำ เพรำะขำดนวัตกรรมและเทคโนโลยี

                       3. ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ยังมีปัญหำจำก 1) ผลิตภำพและ
                ประสิทธิภำพของภำคธุรกิจ 2) ประสิทธิภำพของภำครัฐ และ 3) โครงสร้ำงพื้นฐำน โดยเฉพำะด้ำน
                กำรศึกษำ ด้ำนสุขภำพและสิ่งแวดล้อม และด้ำนวิทยำศำสตร์เทคโนโลยี

                       4. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ระดับหน้้สำธำรณะมีแนวโน้มที่จะเพิ�มสูงขึ้น สำเหตุจำกกำร
                จัดเก็บรำยได้มีแนวโน้มลดลง ในขณะที่กำรใช้จ่ำยปรับเพิ่มสูงขึ้น ท�ำให้ต้องจัดท�ำงบประมำณแบบ

                ขำดดุลอย่ำงต่อเนื่อง นอกจำกนี้ กำรชะลอตัวของเศรษฐกิจส่งผลให้ระดับหนี้ภำคครัวเรือนต่อ GDP
                เร่งตัวขึ้น โดยเฉพำะตั้งแต่ช่วงไตรมำสที่สองของปี 2563

                       5. การเข้าถึงแหล่งเงินทุน ยังพึ�งพำธนำคำรพำณิชย์เป็นหลัก ตลำดทุนยังพัฒนำไม่เต็มที่
                ประชำชนขำดโอกำสในกำรเข้ำถึงแหล่งเงินทุนต้นทุนต�่ำ ขำดสถำบันกำรเงินขนำดย่อมประจ�ำท้องถิ่น
                ที่มีดอกเบี้ยต�่ำ และขำดกลไกทำงกฎหมำยในกำรปรับปรุงโครงสร้ำงหนี้ครัวเรือน

                       6. ประสิทธิภาพของกลไกภาครัฐ กลไกภำครัฐมีขนำดใหญ่ มีกฎระเบียบจ�ำนวนมำก
                ไม่สำมำรถตอบสนองต่อกำรเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคม ขำดกำรมีส่วนร่วมจำกประชำชน

                ท�ำให้ไม่ได้รับควำมร่วมมือจำกประชำชนเท่ำที่ควร ก่อให้เกิดควำมไม่เชื่อมั่นต่อนโยบำยของภำครัฐ
                       ข้อเสนอที่สำาคัญ
                       กำรแพร่ระบำดของโรคโควิด-19 ท�ำให้ปัญหำในเชิงโครงสร้ำงที่ส�ำคัญ 6 ประกำรข้ำงต้น

                เป็นที่ประจักษ์อย่ำงเด่นชัดและส่งผลกระทบรุนแรงในวงกว้ำงมำกขึ้น ดังนั้น เพื่อให้ประเทศไทย
                ก้ำวไปสู่ประเทศที่พัฒนำแล้วได้ตำมระยะเวลำที่ก�ำหนด ท่ำมกลำงบริบทแห่งกำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
                อย่ำงรวดเร็ว จึงขอเสนอแนวทำงกำรพัฒนำด้ำนเศรษฐกิจมหภำค ตำมกรอบแนวคิดกำรพัฒนำ

                ด้ำนเศรษฐกิจเพื่อกำรเจริญเติบโตอย่ำงยั่งยืน ดังต่อไปนี้







           62     ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 - 2570)
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69