Page 67 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 67

ภำพที่ 3-3 ปัญหำของ SME

                                                     ทักษะการบร�หารจัดการธุรกิจ        การเขŒาสู‹สากล
                                                        SME ขาดความรูŒพ�้นฐานที่เพ�ยงพอ  ระดับความสามารถในการเขŒาสู‹สากลต่ำ
                                                               ในการทำธุรกิจ           (ผลิตภัณฑไม‹ตอบโจทยตลาดโลก
                                                                                       ขาดทักษะการขายในระดับสากล)
                                                   การเขŒาถึงขŒอมูล                           เคร�อข‹ายธุรกิจ
                                                ขŒอมูลที่เกี่ยวขŒองกับการทำธุรกิจ             SME ส‹วนใหญ‹ทำธุรกิจแบบ stand alone
                                                  กระจายอยู‹ในหลายหน‹วยงาน                    ไม‹มีเคร�อข‹าย ไม‹เปšนสมาชิกสมาคมใดๆ
                                                   SME ลำบากในการเขŒาถึง                      ทำใหŒขาดพันธมิตร

                                                การเขŒาถึงแหล‹งเง�นทุน                        การใชŒเทคโนโลยี และดิจ�ทัล
                                               SME รายเล็กไม‹มี trac record ที่ดี             มีการใชŒเทคโนโลยี และดิจ�ทัลต่ำ
                                             ไม‹มีหลักทรัพยค้ำประกัน ในขณะที่ธนาคาร          เนื่องจากไม‹ตระหนักถึงความสำคัญ ประโยชน
                                               พ�จารณาสินเชื่อใหŒรายเล็กกับรายใหญ‹            และไม‹มีความรูŒ แต‹เปšนเร�่องจำเปšนในการรองรับ
                                                     ในรูปแบบเดียวกัน                         aging / การขาดแคลนแรงงาน
                                                   Alternative Financing
                                                    ยังไม‹มีบทบาทมากนัก
                                              ในการช‹วยใหŒ SME เขŒาถึงแหล‹งเง�นทุน
                                                            การเขŒาถึงตลาด            คุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ
                                                                                      ส‹วนใหญ‹สินคŒายังไม‹มีมาตรฐาน
                                                                                      เนื่องจากค‹าใชŒจ‹ายสูง และมีขŒอจำกัดในการเขŒาถึง
                                                                                      การตรวจรับรองต‹างๆ รวมทั้งผูŒบร�โภคเองยังไม‹ค‹อยใหŒความสำคัญ



                                                กฎหมายและว�ธ�ปฏิบัติ  การเขŒาถึงงานว�จัยและพัฒนา  การเขŒาถึงผูŒเชี่ยวชาญ / ผูŒใหŒบร�การมืออาชีพ  แรงงานที่มีทักษะ ขาดแคลนแรงงาน
                                                บางเร�่องไม‹ทันสมัย   มีงาน R&D จำนวนมากแต‹ยังไม‹สามารถ  ไม‹มีกลไกในการใหŒ SME    และแรงงานพัฒนามาไม‹สอดคลŒอง
                                             และไม‹เปšนการอำนวยความสะดวกแก‹ธุรกิจ  นำมาใชŒหร�อหาทางใหŒ SME เขŒาถึงไดŒมากนัก  สามารถใชŒบร�การจากผูŒเชี่ยวชาญทางธุรกิจต‹างๆ ไดŒ  กับความตŒองการของภาคอุตสาหกรรม
                                                                           ที่มำ: ส�ำนักงำนส่งเสริมวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อม (สสว.)

                                                ข้อเสนอที่สำาคัญ
                                                SME / Startup มีควำมส�ำคัญต่อควำมมั่นคงทำงเศรษฐกิจและสังคมของ
                                         ประเทศทั้งในแง่ของกำรเป็นแหล่งจ้ำงงำน และกำรกระจำยรำยได้ไปสู่ประชำชน
                                         อย่ำงทั่วถึง จึงจ�ำเป็นต้องเร่งกำรพัฒนำ SME / Startup โดยก�ำหนดเป้ำหมำย (End)

                                         ให้สัดส่วน GDP ของ SME / Startup เพิ่มขึ้น 2 เท่ำในระยะที่สองของยุทธศำสตร์ชำติ
                                         (พ.ศ. 2566 - 2570) ซึ่ึ่งจะส่งผลให้คนไทยมีรำยได้ที่สูงขึ้นและประเทศไทยสำมำรถ
                                         ก้ำวพ้นกับดักรำยได้ปำนกลำง โดยมีแนวทำงกำรพัฒนำที่ส�ำคัญดังนี้

                                                1. สนับสนุนกำรจัดตั้ง micro SME ซึ่ึ่งส่วนใหญ่มีเจ้ำของคนเดียว โดยกำร
                                         เร่งออกกฎหมำยว่ำด้วย นิติบุคคลคนเดียว เพื่อให้สำมำรถเข้ำถึงแหล่งทุน และ
                                         กำรสนับสนุนจำกภำครัฐทั้งด้ำนกำรส่งเสริมพัฒนำ และมำตรกำรทำงภำษี
                                                2. สนับสนุนกลไกกำรบริหำรจัดกำรและแหล่งทุนแก่ micro SME และ SME
                                                3. สนับสนุน SME ในกำรพัฒนำกำรท�ำธุรกิจ B2C (Business to

                                         Consumer) โดยกำรใช้งบประมำณภำครัฐช่วยเหลือผู้มีรำยได้น้อยผ่ำนฐำน SME
                                         โดยใช้ Digital Platform ในกำรสนับสนุนให้เกิดกำรใช้ e-Invoice และ e-Tax
                                         เพื่อลดต้นทุนในกำรท�ำธุรกิจ

                                                4. บูรณำกำรหน่วยงำนที่ท�ำหน้ำที่ส่งเสริมและพัฒนำ SME และจัดให้มี
                                         One Stop Service ที่ช่วยเหลือ ทั้งในด้ำนกำรเข้ำถึงข้อมูลและกำรเข้ำถึงแหล่งทุน
                                         กำรจัดซึ่ื้อจัดจ้ำงภำครัฐ และกำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถ นอกจำกนี้ควรเร่งจัดตั้ง
                                         SME Rating Agency เป็นกลไกในกำรวิเครำะห์และประเมินศักยภำพ SME
                                         เพื่อรับกำรสนับสนุนจำกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องได้อย่ำงเป็นรูปธรรม



                                                                                              นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 63  65
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72