Page 72 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 72

4. ระบบกำรศึกษำขำดกำรสร้ำงบุคลำกรเฉพำะด้ำน และขำดกำรวำงแผนวิชำชีพแห่งอนำคต
                ให้เยำวชนทรำบและสำมำรถเลือกศึกษำ
                       5. มีกำรกระจุกตัวของธุรกิจในจังหวัดซึ่ึ่งมีมูลค่ำผลิตภัณฑ์์มวลรวมรำยจังหวัด (GPP) ที่สูง

                ยังไม่สำมำรถกระจำย GPP และควำมเจริญไปอย่ำงทั่วถึงทุกท้องที่ของประเทศ
                       ประเด็นปัญหาของภาคบริการ
                       1. ในปี 2560 สัดส่วนภำคบริกำรคิดเป็น ร้อยละ 57 ของมูลค่ำ GDP ของประเทศ โดยใน

                ส่วนนี้ ร้อยละ 57 เป็นบริกำรแบบดั้งเดิม (Traditional Services) และร้อยละ 43 เป็นบริกำรแบบใหม่
                (High-Value Services) ซึ่ึ่งเมื่อพิจำรณำสัดส่วนของบริกำรของประเทศพัฒนำแล้วจะพบว่ำ  ประเทศ
                พัฒนำแล้วจะมีสัดส่วนบริกำรแบบดั้งเดิม ต�่ำกว่ำบริกำรสมัยใหม่ ในสัดส่วน 20:80  ดังนั้น หำกไทย

                ต้องกำรพัฒนำประเทศไปสู่กำรเป็นประเทศพัฒนำแล้ว จึงควรเพิ่มสัดส่วนของกำรให้บริกำรสมัยใหม่
                มำกกว่ำในปัจจุบัน นอกจำกนี้ ภำคบริกำรของไทยจ้ำงงำนร้อยละ 42 ของจ�ำนวนแรงงำนทั้งหมด
                ของประเทศ โดยแรงงำนส่วนใหญ่ยังอยู่ในภำคเกษตร กำรพัฒนำประเทศโดยใช้ภำคบริกำรเป็นปัจจัย
                ขับเคลื่อน จึงจ�ำเป็นต้องมีกำรพัฒนำทักษะของแรงงำนในภำคเกษตรเพื่อให้รองรับกำรขยำยตัวของ
                ภำคบริกำรในอนำคต

                       2. ตำมยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี รัฐบำลได้ก�ำหนดให้บริกำรสุขภำพและบริกำรท่องเที่ยว
                เป็นบริกำรที่ขับเคลื่อนประเทศในอนำคต อย่ำงไรก็ตำม กำรขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ในบริกำรทั้งสองสำขำ
                ยังไม่มีมูลค่ำเพิ่มเท่ำที่ควร และเผชิญกำรแข่งขันจำกประเทศเพื่อนบ้ำน ทั้งในสำขำบริกำรสุขภำพ

                และสำขำบริกำรท่องเที่ยว นอกจำกนี้ ด้ำนท่องเที่ยวมีแต่นักท่องเที่ยวเดิม ไม่สำมำรถจับกลุ่มลูกค้ำ
                ที่เป็นคนรุ่นใหม่ได้

                       ข้อเสนอที่สำาคัญ
                       1. เปลี่ยนผ่ำนไปสู่อุตสำหกรรมและบริกำรที่มีมูลค่ำเพิ่มสูง ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เหมำะกับ
                บริบทของคนไทย อำทิ อุตสำหกรรมและบริกำรสุขภำพและกำรแพทย์ครบวงจร
                       2. วำงแผนระบบกำรศึกษำและวิชำชีพแห่งอนำคตในระยะยำวเพื่อให้มีบุคลำกรที่มีควำมรู้

                ด้ำนวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยีดิจิทัล และทักษะที่จ�ำเป็นส�ำหรับอุตสำหกรรมแห่งอนำคต
                       3. สนับสนุนให้เกิดอุตสำหกรรมแห่งอนำคต (Industry 4.0) โดยแนวคิดเศรษฐกิจแบบยั่งยืน
                (ESG: Environment, Social and Governance/BCG: Bio-Circular-Green Economy) เช่น
                อุตสำหกรรมเวชภัณฑ์์/เครื่องมือแพทย์ขั้นสูง ที่สำมำรถผลิตและส่งออกได้ โดยดึงดูดนักลงทุน

                ต่ำงประเทศมำลงทุนในไทย เพื่อสร้ำงคลัสเตอร์อุตสำหกรรมกำรผลิตเครื่องมือแพทย์ ที่ต้องมีกำร
                ถ่ำยทอดเทคโนโลยี
                       4. ส่งเสริมให้มีควำมร่วมมือระหว่ำงภำครัฐ เอกชน และภำคกำรศึกษำในอุตสำหกรรม
                เป้ำหมำย มีโครงสร้ำงพื้นฐำนและทรัพยำกรทำงด้ำนดิจิทัลของประเทศที่ครอบคลุมทั่วถึงอย่ำงจริงจัง

                (อำทิ NDID (National Digital Identification), Digital Document, Digital Payment)
                       5. เน้นกำรสร้ำงเครือข่ำยธุรกิจและระบบนิเวศ (Ecosystem) มำกกว่ำกำรแข่งขัน







           70     ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 - 2570)
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77