Page 74 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 74
จำกรำยงำนข้ำงต้นสะท้อนให้เห็นว่ำ อุตสำหกรรมท่องเที่ยวไทยไม่ได้มีปัญหำในด้ำนอุปสงค์
(Demand side) ทั้งในจ�ำนวนนักท่องเที่ยวและรำยได้จำกกำรท่องเที่ยว แต่ปัญหำอยู่ที่ด้ำนอุปทำน
(Supply side) ทั้งในด้ำนกำรใช้เทคโนโลยี โดยเฉพำะเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ำมำยกระดับขีดควำมสำมำรถ
ของอุตสำหกรรมท่องเที่ยว ด้ำนควำมสะอำด ด้ำนควำมปลอดภัย และด้ำนควำมยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
ที่มีอันดับต�่ำมำกที่สุด ซึ่ึ่งปัญหำเหล่ำนี้ขำดกำรบริหำรจัดกำรอย่ำงบูรณำกำรอย่ำงจริงจังและเป็นระบบ
โดยเฉพำะในระดับพื้นที่ท่องเที่ยว (Destination)
จำกกำรวิเครำะห์กรณีศึกษำในกำรบริหำรจัดกำรด้ำนอุปทำนของประเทศชั้นน�ำทั้งในภูมิภำค
อเมริกำ ยุโรป และเอเชียแปซึ่ิฟิค พบว่ำ จ�ำเป็นต้องมีเครื่องมือในกำรบริหำรจัดกำรพื้นที่ท่องเที่ยว
ให้เกิดควำมยั่งยืน (Sustainability management) ซึ่ึ่งเป็นที่ยอมรับในระดับสำกล โดยเฉพำะกำร
ประยุกต์ใช้เกณฑ์์กำรท่องเที่ยวอย่ำงยั่งยืนโลกที่ก�ำหนดโดยสภำกำรท่องเที่ยวอย่ำงยั่งยืนโลก (Global
Sustainable Tourism Council หรือ GSTC) ซึ่ึ่งประเทศชั้นน�ำในภูมิภำคต่ำง ๆ ใช้กันอย่ำงแพร่หลำย
เพื่อให้ผลในกำรน�ำเกณฑ์์ GSTC มำใช้สำมำรถวัดควำมส�ำเร็จอย่ำงยั่งยืนได้อย่ำงเป็นระบบ มีหลัก
วิชำกำรรองรับ และได้รับกำรรับรองหรือกำรจัดอันดับต่ำง ๆ ในระดับสำกล อันจะส่งผลให้เกิดกำร
ท่องเที่ยวอย่ำงมีคุณภำพ (Quality tourism) ทั้งในมิตินักท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยว กิจกรรมกำร
ท่องเที่ยว และกำรให้บริกำรที่เกี่ยวข้องกับกำรท่องเที่ยว
โครงสร้ำงของอุตสำหกรรมท่องเที่ยวไทยถูกออกแบบมำเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวต่ำงชำติ
เป็นส่วนใหญ่ ขณะเดียวกัน พฤติกรรมนักท่องเที่ยวในช่วงก่อนสถำนกำรณ์แพร่ระบำดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนำ 2019 และหลังจำกนี้ไปมักให้ควำมส�ำคัญกับกำรท่องเที่ยวที่มีควำมปลอดภัย มีกำรจัดกำร
อย่ำงยั่งยืน ให้ควำมส�ำคัญกับกำรท่องเที่ยวทำงวัฒนธรรมและชุมชน กำรใช้เกณฑ์์ GSTC เป็นเครื่องมือ
ในกำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวเพื่อน�ำไปสู่ควำมยั่งยืนจึงสอดคล้องกับบริบทดังกล่ำว ซึ่ึ่งยุทธศำสตร์ชำติ
20 ปี ได้ก�ำหนดให้บำงพื้นที่ ที่เป็นพื้นที่พิเศษขององค์กำรบริหำรพัฒนำพื้นที่พิเศษเพื่อกำรท่องเที่ยว
อย่ำงยั่งยืน (องค์กำรมหำชน) หรือ อพท. น�ำเกณฑ์์ GSTC ไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่พิเศษขององค์กำร
บริหำรกำรพัฒนำพื้นที่พิเศษเพื่อกำรท่องเที่ยวอย่ำงยั่งยืน (องค์กำรมหำชน) และก�ำหนดตัวชี้วัด
ให้พื้นที่ดังกล่ำวได้รับกำรรับรองควำมยั่งยืนในระดับสำกล โดยในปี 2563 อพท. ได้น�ำเกณฑ์์ GSTC
ไปใช้ในพื้นที่ต�ำบลเชียงคำน จังหวัดเลย และต�ำบลในเวียง จังหวัดน่ำน จนได้รับกำรรับรองให้เป็น
สุดยอดแหล่งท่องเที่ยวยั่งยืน 100 แห่งของโลกประจ�ำปี 2020 เทียบได้กับ Okinawa และ Kyoto ของ
ญี่ปุ่น Townsville ของออสเตรเลีย Bay of Plenty ของนิวซึ่ีแลนด์ และ Sun Moon Lake ของไต้หวัน
นอกจำกนี้ กำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเร็วของเทคโนโลยีดิจิทัลส่งผลต่อพฤติกรรมของ
นักท่องเที่ยวเป็นอย่ำงมำก โดยเฉพำะกำรใช้บริกำรกำรท่องเที่ยวทั้งส�ำรองที่พัก กำรเดินทำง และ
กิจกรรมท่องเที่ยว ผ่ำนผู้ให้บริกำรแพลตฟอร์มออนไลน์ (Online Travel Agency หรือ OTA)
72 ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 - 2570)