Page 73 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 73

6. มีกำรทบทวนกฎหมำยให้ทันสมัย สอดคล้องกับกำรด�ำเนินธุรกิจ
                                         ลดขั้นตอนและควำมยุ่งยำกในกำรด�ำเนินธุรกิจ
                                                7. สนับสนุนอุตสำหกรรมและบริกำรที่เกี่ยวข้องกับกำรรักษำสุขภำพ โดยใช้

                                         จุดแข็งของบริกำรสุขภำพ ที่มีทั้งกำรแพทย์สมัยใหม่ แพทย์ทำงเลือก ยำสมุนไพร
                                         บริกำรท่องเที่ยว Wellness และอุตสำหกรรมอำหำร รองรับสังคมสูงวัยที่เกิดขึ้นทั่วโลก
                                                8. บริกำรสุขภำพสำมำรถน�ำรำยได้เข้ำประเทศ ขณะเดียวกันสังคมสูงวัย
                                         ในประเทศก็ท�ำให้รัฐมีค่ำใช้จ่ำยเพิ่มขึ้น กำรท�ำให้ประชำชนมีสุขภำพดีขึ้น จะช่วย
                                         ลดค่ำใช้จ่ำยของประเทศในกำรรักษำพยำบำล โดยมุ่งหวังให้ Health Expenditure

                                         น้อยกว่ำร้อยละ 4 ของ GDP ภำยในปี 2570
                                                9. ภำครัฐควรร่วมมือกับภำคเอกชนในกำรพัฒนำแพลตฟอร์มของประเทศ
                                         ในด้ำนต่ำง ๆ เช่น ด้ำนสุขภำพ ด้ำนท่องเที่ยว เพื่อลดกำรพึ่งพำแพลตฟอร์มของ

                                         ต่ำงประเทศ
                                                10.  พัฒนำโครงข่ำยกำรสื่อสำรโทรคมนำคมศักยภำพสูงให้ทั่วถึงทั้งประเทศ
                                         เพื่อให้สำมำรถให้บริกำรสุขภำพที่เชื่อมโยงกับบริกำรท่องเที่ยว
                                                11.  สนับสนุนผู้ประกอบธุรกิจบริกำรใหม่ ๆ เช่น กำรผลิต Digital Content
                                         กำรสร้ำงแพลตฟอร์มของคนไทย เพื่อต่อสู้กับคู่แข่งใหม่ คือบริษัทเทคโนโลยียักษ์ใหญ่

                                         ระดับโลก ที่เริ่มบริกำรให้ค�ำปรึกษำทำงกำรแพทย์ผ่ำนออนไลน์
                                                12.  ผสมผสำนกำรบริกำรทั้งท่องเที่ยว สุขภำพและอำหำร โดยใช้เทคโนโลยี
                                         ที่ท�ำให้ผู้บริโภคเข้ำถึงบริกำรต่ำง ๆ ทั้งหมดผ่ำนออนไลน์



                                         3.5   การพัฒนาการท่องเที่ยว


                                                ประเด็นปัญหา
                                                รำยงำนจำกองค์กำรกำรท่องเที่ยวโลกแห่งสหประชำชำติ (United Nations
                                         World Tourism Organization หรือ UNWTO) ระบุว่ำ ในปี 2562 ช่วงก่อนเกิด
                                         สถำนกำรณ์แพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 อุตสำหกรรมท่องเที่ยวไทย
                                         มีศักยภำพในกำรดึงดูดนักท่องเที่ยวต่ำงชำติสูงถึง 39.79 ล้ำนคน จัดอยู่ในอันดับ 9

                                         ของโลก และมีรำยได้จำกนักท่องเที่ยวต่ำงชำติ 1.93 ล้ำนล้ำนบำท อยู่ในอันดับ 4
                                         ของโลก ในขณะที่รำยงำน Travel & Tourism Competitiveness Report 2019
                                         ซึ่ึ่งจัดท�ำโดยสภำเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum: WEF) ได้ประเมินขีดควำม
                                         สำมำรถในกำรแข่งขันด้ำนกำรท่องเที่ยวของไทยอยู่ในอันดับที่ 31 จำก 140 ประเทศ

                                         โดยในอำเซึ่ียน ไทยเป็นอันดับ 3 รองจำกสิงคโปร์และมำเลเซึ่ีย ทั้งนี้ ไทยมีขีดควำม
                                         สำมำรถด้ำนควำมพร้อมทำงเทคโนโลยีและกำรสื่อสำร อันดับที่ 49 ด้ำนสุขภำพและ
                                         อนำมัย อันดับที่ 88 ด้ำนควำมมั่นคงปลอดภัย อันดับที่ 111 และควำมยั่งยืนของ
                                         สิ่งแวดล้อม อันดับที่ 130





                                                                                              นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 63  71
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78