Page 77 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 77
3.6 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (โลจิสติกส์ และพลังงาน)
ประเด็นปัญหาด้านโลจิสติกส์
กำรพัฒนำระบบโลจิสติกส์ของประเทศ มีปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลำยส่วน ทั้งกำร
ลงทุนโครงสร้ำงพื้นฐำนซึ่ึ่งใช้งบประมำณจ�ำนวนมำก ปัญหำควำมมั่นคงของประเทศ
ควำมซึ่ับซึ่้อนในกำรเชื่อมโยงระบบขนส่งเข้ำกับระบบเศรษฐกิจ เช่น สะพำนแผ่นดิน
หรือ Land Bridge (เส้นทำงบกเพื่อใช้เชื่อมโยงระหว่ำงทะเลหรือมหำสมุทร แทนกำรใช้
กำรขนส่งทำงทะเล) รวมถึงกำรขำดก�ำลังคนและควำมรู้ควำมเข้ำใจในด้ำนโลจิสติกส์
เป็นต้น ถึงแม้ประเทศไทยจะมีควำมได้เปรียบด้ำนภูมิศำสตร์ คือที่ตั้งของประเทศ
และมีโครงสร้ำงพื้นฐำนด้ำนโลจิสติกส์ที่ดีกว่ำหลำยประเทศในภูมิภำค แต่ก็ยังขำด
กำรเชื่อมโยงกำรขนส่งในแต่ละรูปแบบและกำรจัดกำรโลจิสติกส์แบบบูรณำกำร
ยังไม่มีหน่วยงำนหลักที่บริหำรภำพรวมด้ำนโลจิสติกส์ของประเทศ และมีกฎหมำยที่
เป็นอุปสรรคต่อกำรพัฒนำ ทั้งนี้ แนวโน้มอุตสำหกรรมโลจิสติกส์และผู้ประกอบกำร
ไทยจะปรับตัวให้มีประสิทธิภำพสูงขึ้น และมีขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันกับ
ผู้ประกอบกำรต่ำงชำติมำกขึ้น อีกทั้งจะขยำยตัวเพื่อรองรับกำรเคลื่อนย้ำยสินค้ำ
ที่จะเพิ่มขึ้น โดยเฉพำะจำกแผนกำรพัฒนำด้ำนโลจิสติกส์ภำยใต้โครงกำร BRI หรือ
Belt and Road Initiative ของจีน รวมถึงกำรขยำยตัวของเศรษฐกิจไทยและภูมิภำค
และกำรเติบโตของพำณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
กำรพัฒนำอุตสำหกรรมโลจิสติกส์ของประเทศไทยควรเริ่มจำกกำรปรับ
มุมมองและกำรก�ำหนดเป้ำหมำยให้สอดคล้องกับแนวทำงกำรพัฒนำประเทศ
ที่ต้องกำรพัฒนำอุตสำหกรรมหรือบริกำร ที่จะเป็นแหล่งรำยได้ใหม่ของประเทศ
ในระยะยำว ซึ่ึ่งในอดีตที่ผ่ำนมำระดับนโยบำยมักจะมองด้ำนโลจิสติกส์ ในมิติของ
ต้นทุนและโครงสร้ำงพื้นฐำนเท่ำนั้น
ก�ำหนดเป้ำหมำยให้อุตสำหกรรมโลจิสติกส์เป็นเครื่องยนต์ทำงเศรษฐกิจ
ตัวใหม่ของประเทศไทย โดยผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลำงของภูมิภำคเพื่อ
เชื่อมโยง “กำรขนส่งต่อเนื่องหลำยรูปแบบ” หรือ “Multimodal Transports” โดย
บำงรูปแบบของระบบกำรขนส่ง ไทยอำจเป็นศูนย์กลำงของภูมิภำค อำทิ กำรขนส่ง
ทำงบก ในขณะที่บำงรูปแบบกำรขนส่ง ไทยอำจเป็นจุดเชื่อมโยง อำทิ กำรขนส่ง
ทำงทะเล เป็นต้น และต้องบริหำรจัดกำรให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมถึงต้องวำงแผน
ระยะยำวส�ำหรับโลจิสติกส์ในอนำคตให้ครบครันในทุกด้ำน เพื่อรองรับแผนพัฒนำ
โลจิสติกส์ของจีน ซึ่ึ่งเชื่อมโลกด้วย BRI ทั้งนี้ เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยไทยต้องเร่งพัฒนำ
ระบบข้อมูลเชิงดิจิทัลและกำรเชื่อมโยงข้อมูลของหน่วยงำนต่ำง ๆ เช่น กำรจัดกำร
นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 63 75