Page 79 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 79

ที่เข้มข้นขึ้นเรื่อย ๆ  ในระดับนำนำชำติ รวมไปถึงกองทุนต่ำงประเทศที่ให้ควำมส�ำคัญ

                                         ด้ำน ESG หรือ Environmental Social Governance ท�ำให้มีแนวโน้มที่โลกจะหัน
                                         ไปสู่พลังงำนสะอำดมำกขึ้น

                                                ขณะนี้ประเทศไทยอยู่ระหว่ำงกำรพิจำรณำวำงแผนเป้ำหมำย กำรลดกำร
                                         ปล่อยก๊ำซึ่เรือนกระจกจำกกำรก�ำหนดกำรปลดปล่อยปริมำณคำร์บอนสุทธิ Net
                                         Zero carbon emission ภำยในปี ค.ศ. 2060 ถึง 2070 และแนวโน้มสัดส่วนกำรใช้
                                         พลังงำนในกำรผลิตไฟฟ้ำจะเป็นพลังสะอำดมำกขึ้นตำมแผนพัฒนำก�ำลังผลิตไฟฟ้ำ

                                         ของประเทศ หรือ แผน PDP (Power Development Plan) หำกปัจจัยทำงเศรษฐกิจ
                                         ไม่เอื้ออ�ำนวยในกำรขับเคลื่อน กำรเปลี่ยนผ่ำนด้ำนพลังงำนจะเป็นไปได้อย่ำงล่ำช้ำ
                                         ประกอบกับกำรน�ำไปสู่กำรปฏิบัติได้จริงจ�ำเป็นต้องมีกำรประสำนงำนกับผู้เกี่ยวข้อง
                                         หลำยหน่วยงำน และหลำยโครงกำรที่ซึ่ับซึ่้อนต้องมีกำรบูรณำกำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ



                                                ข้อเสนอด้านพลังงานที่สำาคัญ

                                                1. สนับสนุนให้มีกำรส�ำรวจและผลิตทรัพยำกรพลังงำนในประเทศให้เกิด

                                         ประโยชน์สูงสุด โดยเร่งรัดให้มีกำรเปิดกำรประมูลสัมปทำนหรือกำรให้สิทธิกำรส�ำรวจ
                                         และผลิตปิโตรเลียมในรอบใหม่ทั้งในทะเลและบนบก เพื่อเสริมสร้ำงควำมมั่นคงทำง
                                         ด้ำนพลังงำนส�ำหรับประเทศไทยอย่ำงยั่งยืน พึ่งพำแหล่งพลังงำนในประเทศให้มำก
                                         ที่สุด ก๊ำซึ่ธรรมชำติและน�้ำมันถือเป็นปิโตรเลียมหลัก ซึ่ึ่งเป็นแหล่งพลังงำนที่สำมำรถ
                                         หำได้ในประเทศ

                                                2. เร่งรัดหำข้อสรุปเพื่อกำรส�ำรวจและพัฒนำแหล่งก๊ำซึ่ในพื้นที่ทับซึ่้อน

                                         ไทย-กัมพูชำ โดยใช้หลักผลประโยชน์ทำงเศรษฐกิจของทั้งสองประเทศ และ
                                         ผลประโยชน์ของประชำชนเป็นที่ตั้ง โดยไม่ให้มีผลกระทบต่อกำรแบ่งเขตแดนของ
                                         ทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ กำรสื่อสำรท�ำควำมเข้ำใจร่วมกันและสร้ำงเป้ำหมำยเดียวกัน
                                         ต้องได้รับควำมร่วมมือจำกทั้งภำครัฐ ภำคเอกชน หมำยรวมถึงองค์กรที่ไม่แสวงหำ

                                         ก�ำไร และภำคประชำชนในลักษณะ Public-Private-People partnership
                                                3. เตรียมควำมพร้อมกำรเปลี่ยนผ่ำนพลังงำนไปสู่กำรใช้พลังงำนสะอำด

                                         เช่น พลังงำนจำกแสงอำทิตย์ เนื่องจำกปัจจุบันต้นทุนพลังงำนประเภทนี้ยังคง
                                         สูงอยู่ ประกอบกับยังไม่สำมำรถน�ำมำผลิตไฟฟ้ำได้อย่ำงมีเสถียรภำพ ดังนั้น
                                         กำรจัดล�ำดับกำรใช้แหล่งพลังงำนในกำรผลิตไฟฟ้ำมีควำมส�ำคัญ กำรใช้ก๊ำซึ่ธรรมชำติ
                                         เป็นแหล่งพลังงำนที่ผลิตได้ในประเทศจะยังคงเป็นแหล่งพลังงำนหลักที่เหมำะสม

                                         ส�ำหรับประเทศไทยในระยะยำว โดยสำมำรถน�ำเทคโนโลยีกำรดักจับกักเก็บคำร์บอน
                                         (Carbon Capture Storage) ซึ่ึ่งมีประโยชน์ในกำรช่วยปลดล็อคข้อจ�ำกัดในกำรผลิต
                                         ก๊ำซึ่ธรรมชำติที่มีก๊ำซึ่คำร์บอนไดออกไซึ่ด์สูง ให้น�ำมำใช้ในกำรผลิตไฟฟ้ำได้มำกขึ้น






                                                                                              นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 63  77
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84