Page 12 - 30. economy 31001
P. 12

ห น้ า  | 3



               ลงทุน หรือตลาด โดยไมไดเตรียมสรางพื้นฐานภายในประเทศใหมีความมั่นคงและเขมแข็ง หรือสราง
               ภูมิคุมกันที่ดีเพื่อใหสามารถพรอมรับความเสี่ยงจากความผกผันเปลี่ยนแปลงของปจจัยภายในและภายนอก

               บทเรียนจากการพัฒนาที่ผานมานั้นทําใหประชาชนคนไทยทุกระดับในทุกภาคสวนของสังคม ทั้งภาครัฐ
               เอกชน ประชาสังคม นักวิชาการ หันกลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาและการดําเนินชีวิตของคนในชาติ

               แลวมุงใหความสําคัญกับพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่9)ใน

               เรื่องการพัฒนาและการดําเนินชีวิตแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และศึกษาคนควาพัฒนาความรู ความเขาใจ
               เกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในเชิงกรอบแนวคิดทางทฤษฎีและใชเปนแนวในการนําไปประยุกตใช

               ในชีวิตประจําวันมากขึ้น

                      สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดเชิญผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงาน
               ตางๆ มารวมกันพิจารณา กลั่นกรอง พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

               (รัชกาลที่9)ที่ไดพระราชทานแกปวงชนชาวไทยในโอกาสตางๆ ที่เกี่ยวของกับเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงแลว
               สรุปเปนนิยามความหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และไดอัญเชิญเปนปรัชญานําทางในการจัดทํา

               แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) และฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 -

               2554) เพื่อสงเสริมใหประชาชนทุกระดับและทุกภาคสวนของสังคมมีความเขาใจในหลักปรัชญาของ
               เศรษฐกิจพอเพียงและนําไปเปนพื้นฐานและแนวทางในการดําเนินชีวิตอันจะนําไปสูการพัฒนาที่สมดุลและ

               ยั่งยืน ประชาชนมีความเปนอยูรมเย็นเปนสุข สังคมมีความเขมแข็ง และประเทศชาติมีความมั่นคง



               ความหมาย

                      ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่เปนแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตนของ
               แตละบุคคลและองคกรทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับประเทศทั้งในการพัฒนาและ

               บริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยคํานึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพตนเองและสภาวะ
               แวดลอม ความมีเหตุผลและการมีภูมิคุมกันที่ดีในตัวเองโดยใชความรูอยางถูกหลักวิชาการดวยความ

               รอบคอบและระมัดระวังควบคูไปกับการมีคุณธรรม ไมเบียดเบียนกัน แบงปน ชวยเหลือซึ่งกันและกันและ

               รวมมือปรองดองกันในสังคม ซึ่งนําไปสูความสามัคคี การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนพรอมรับตอการ
               เปลี่ยนแปลงภายใตกระแสโลกาภิวัตนได
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17