Page 15 - 30. economy 31001
P. 15

6 | ห น้ า







                                            สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

















                                  เงื อนไข ความรู  ้        นําสู่      เงื อนไข คุณธรรม
                                                                                        ่
                                                                                          ั
                                                                     ั
                             (รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง)           (ซอสตย สุจรต ขยัน อดทน แบงปน)
                                                                           ิ
                                                                       ์
                                                                  ื
                                  ้

                                     แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 หวง 2 เงื่อนไข

               ความสําคัญ



                      ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศและพัฒนาคน ดังนี้
                      1.  เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่มีความสําคัญยิ่งสําหรับการขจัดความยากจน และการลดความ

               เสี่ยงทางเศรษฐกิจ

                      2.  ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนพื้นฐานของการสรางพลังอํานาจของชุมชนและการพัฒนา
               ศักยภาพชุมชนใหเขมแข็งเพื่อเปนรากฐานของการพัฒนาประเทศ

                      3.  เศรษฐกิจพอเพียงชวยยกระดับความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทดวยการสรางขอปฏิบัติใน

               การทําธุรกิจที่เนนผลกําไรระยะยาวในบริบทที่มีการแขงขัน
                      4.  หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอการปรับปรุงมาตรฐานของ

               ธรรมาภิบาลในการบริหารงานภาครัฐ
                      5.  ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใชเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายของชาติ เพื่อสราง

               ภูมิคุมกันตอสถานการณที่เขามากระทบโดยฉับพลัน เพื่อปรับปรุงนโยบายตางๆ ใหเหมาะสมยิ่งขึ้น และ

               เพื่อวางแผนยุทธศาสตรในการสงเสริมการเติบโตที่เสมอภาคและยั่งยืน
                      6.  ในการปลูกฝงจิตสํานึกพอเพียงจําเปนตองมีการปรับเปลี่ยน คานิยม และความคิดของคน

               เพื่อใหเอื้อตอการพัฒนาคน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20